รบกวนสมาชิกทุกท่านถ้าทราบช่วยแชร์ข้อมูลกันด้วยนะคะ เรื่องการจ่ายค่าล่วงเวลาของนายจ้างกรณีดังต่อไปนี้ ผิดกฎหมายหรือข้อกำหนดมาตรฐานแรงงานไทยหรือไม่
การจ่ายค่าทำงานงาล่วงเวลากรณีที่เป็น พนักงานรายเดือน นายจ้างจะกำหนดการจ่าย ดังนี้
หากเงินเดือนไม่ถึง 10,000 บาท จะจ่ายเป็นโอทีคิดตามอัตรเงินเดือนที่ได้ แต่เป็นประเด็นว่าถ้าเงินเดือนเกิน 10,000 บาท จะจ่ายเป็นเบี้ยเลี้ยง (สมมุติ เวลาทำงาน 8.00-17.00 น.)
อัตราเบี้ยเลี้ยงที่จ่าย คือ
1. ตั้งแต่ 17.00-20.00น. จ่ายจำนวน __บาท แต่ถ้าทำงานล่วงเวลาแค่ 19.00 น. จะไม่ได้โอที หรือเบี้ยเลี้ยง
2. หลัง 20.00-22.00 น. จ่ายจำนวน__บาท ถ้าทำงานถึง 21.00 น. จะจ่ายอัตรตามข้อ 1
3. หลัง 22.00 -24.00 น. จ่ายจำนวน__บาท ถ้าทำงานถึง 23.00 น. จ่ายจ่ายอัตราตามข้อ 2
4. หลังเที่ยงคืนไปจนถึงอีกวัน จ่ายจำนวน __บาท
ซึ่งการจ่ายเป็นเบี้ยเลี้ยง ถ้าคิดอัตรการจ่ายเทียบกับเงินดือนแล้ว การจ่ายเป็นเบี้ยงเลี้ยงจะได้น้อยกว่า
ตัวอย่าง ทำงานล่วงเวลา ถึง 20.00 น. กรณี ก เงินเดือน 9,000 บาท ได้ค่าโอที 3 ชม.ๆ ละ 50 บาท เท่ากับ 150 บาท
แต่นาย ข เงินเดือน 12,000 บาท ได้รับเบี้ยเลี้ยงตามอัตรข้อ 1 จำนวน 120 บาท ซึ่งน้อยกว่า นาย ก และถ้านาย ข ทำงาน แค่ 19.00 น. จะไม่ได้รับค่าโอทีและเบี้ยเลี้ยง แต่นาย ก.มีสิทธิ์ได้โอที เพราะเงินเดือนไม่ถึง 10,000 บาท
อยากทราบว่าถ้าทำระบบ มรท. จะผิดข้อกำหนดกฎหมายหรือไม่
ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com
การจ่ายเบี้ยเลี้ยงหรือค่าโอทีลักษณะนี้นายจ้างผิดหรือไม่
Started by
Doc.
, Jul 23 2012 02:18 PM
7 replies to this topic
#1
Posted 23 July 2012 - 02:18 PM
#2
Posted 23 July 2012 - 06:01 PM
อืม กรณีศึกษา
จะรอดูเหมือนกันว่า ทุกท่านมีความเห็นว่าอย่างไร
จะรอดูเหมือนกันว่า ทุกท่านมีความเห็นว่าอย่างไร
#3
Posted 23 July 2012 - 06:41 PM
QUOTE(Doc. @ Jul 23 2012, 02:18 PM) <{POST_SNAPBACK}>
รบกวนสมาชิกทุกท่านถ้าทราบช่วยแชร์ข้อมูลกันด้วยนะคะ เรื่องการจ่ายค่าล่วงเวลาของนายจ้างกรณีดังต่อไปนี้ ผิดกฎหมายหรือข้อกำหนดมาตรฐานแรงงานไทยหรือไม่
การจ่ายค่าทำงานงาล่วงเวลากรณีที่เป็น พนักงานรายเดือน นายจ้างจะกำหนดการจ่าย ดังนี้
หากเงินเดือนไม่ถึง 10,000 บาท จะจ่ายเป็นโอทีคิดตามอัตรเงินเดือนที่ได้ แต่เป็นประเด็นว่าถ้าเงินเดือนเกิน 10,000 บาท จะจ่ายเป็นเบี้ยเลี้ยง (สมมุติ เวลาทำงาน 8.00-17.00 น.)
อัตราเบี้ยเลี้ยงที่จ่าย คือ
1. ตั้งแต่ 17.00-20.00น. จ่ายจำนวน __บาท แต่ถ้าทำงานล่วงเวลาแค่ 19.00 น. จะไม่ได้โอที หรือเบี้ยเลี้ยง
2. หลัง 20.00-22.00 น. จ่ายจำนวน__บาท ถ้าทำงานถึง 21.00 น. จะจ่ายอัตรตามข้อ 1
3. หลัง 22.00 -24.00 น. จ่ายจำนวน__บาท ถ้าทำงานถึง 23.00 น. จ่ายจ่ายอัตราตามข้อ 2
4. หลังเที่ยงคืนไปจนถึงอีกวัน จ่ายจำนวน __บาท
ซึ่งการจ่ายเป็นเบี้ยเลี้ยง ถ้าคิดอัตรการจ่ายเทียบกับเงินดือนแล้ว การจ่ายเป็นเบี้ยงเลี้ยงจะได้น้อยกว่า
ตัวอย่าง ทำงานล่วงเวลา ถึง 20.00 น. กรณี ก เงินเดือน 9,000 บาท ได้ค่าโอที 3 ชม.ๆ ละ 50 บาท เท่ากับ 150 บาท
แต่นาย ข เงินเดือน 12,000 บาท ได้รับเบี้ยเลี้ยงตามอัตรข้อ 1 จำนวน 120 บาท ซึ่งน้อยกว่า นาย ก และถ้านาย ข ทำงาน แค่ 19.00 น. จะไม่ได้รับค่าโอทีและเบี้ยเลี้ยง แต่นาย ก.มีสิทธิ์ได้โอที เพราะเงินเดือนไม่ถึง 10,000 บาท
อยากทราบว่าถ้าทำระบบ มรท. จะผิดข้อกำหนดกฎหมายหรือไม่
การจ่ายค่าทำงานงาล่วงเวลากรณีที่เป็น พนักงานรายเดือน นายจ้างจะกำหนดการจ่าย ดังนี้
หากเงินเดือนไม่ถึง 10,000 บาท จะจ่ายเป็นโอทีคิดตามอัตรเงินเดือนที่ได้ แต่เป็นประเด็นว่าถ้าเงินเดือนเกิน 10,000 บาท จะจ่ายเป็นเบี้ยเลี้ยง (สมมุติ เวลาทำงาน 8.00-17.00 น.)
อัตราเบี้ยเลี้ยงที่จ่าย คือ
1. ตั้งแต่ 17.00-20.00น. จ่ายจำนวน __บาท แต่ถ้าทำงานล่วงเวลาแค่ 19.00 น. จะไม่ได้โอที หรือเบี้ยเลี้ยง
2. หลัง 20.00-22.00 น. จ่ายจำนวน__บาท ถ้าทำงานถึง 21.00 น. จะจ่ายอัตรตามข้อ 1
3. หลัง 22.00 -24.00 น. จ่ายจำนวน__บาท ถ้าทำงานถึง 23.00 น. จ่ายจ่ายอัตราตามข้อ 2
4. หลังเที่ยงคืนไปจนถึงอีกวัน จ่ายจำนวน __บาท
ซึ่งการจ่ายเป็นเบี้ยเลี้ยง ถ้าคิดอัตรการจ่ายเทียบกับเงินดือนแล้ว การจ่ายเป็นเบี้ยงเลี้ยงจะได้น้อยกว่า
ตัวอย่าง ทำงานล่วงเวลา ถึง 20.00 น. กรณี ก เงินเดือน 9,000 บาท ได้ค่าโอที 3 ชม.ๆ ละ 50 บาท เท่ากับ 150 บาท
แต่นาย ข เงินเดือน 12,000 บาท ได้รับเบี้ยเลี้ยงตามอัตรข้อ 1 จำนวน 120 บาท ซึ่งน้อยกว่า นาย ก และถ้านาย ข ทำงาน แค่ 19.00 น. จะไม่ได้รับค่าโอทีและเบี้ยเลี้ยง แต่นาย ก.มีสิทธิ์ได้โอที เพราะเงินเดือนไม่ถึง 10,000 บาท
อยากทราบว่าถ้าทำระบบ มรท. จะผิดข้อกำหนดกฎหมายหรือไม่
จอมโจรฯ คิดว่า คุณตอบคำถามนี้ได้เองอยู่แล้ว แต่คงกำลังค้นหาอยู่ว่า
มันมีวิธีการคำนวณที่เป็นมาตรฐานอยู่หรือเปล่า ซึ่งมันมีอยู่ใน
พรบ.คุ้มครองแรงงาน มาตรา 61 (กรณี โอที ในวันทำงานปกติ) กับ 63 (ทำโอทีในวันหยุด)
นอกจากข้อมูลที่ให้มาแล้ว ถ้าจะเพิ่มความเห็น ของ จขกท.
มาด้วย ก็จะเป็นประโยชน์กับ จขกท นะครับ
"
#4
Posted 23 July 2012 - 08:06 PM
ผิดกฎหมายแรงงานแน่นอนครับ
ขอให้เข้าไปศึกษาข้อกฎหมายของกระทรวงแรงงานได้
ขอให้เข้าไปศึกษาข้อกฎหมายของกระทรวงแรงงานได้
#5
Posted 24 July 2012 - 05:30 PM
QUOTE(Food Safety @ Jul 23 2012, 08:06 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ผิดกฎหมายแรงงานแน่นอนครับ
ขอให้เข้าไปศึกษาข้อกฎหมายของกระทรวงแรงงานได้
ขอให้เข้าไปศึกษาข้อกฎหมายของกระทรวงแรงงานได้
ถึงรู้ว่านายจ้างทำผิด แต่ก็ต้องหากฎหมายมาอ้างอิง กำลังทำระบบ มรท.ต้องไป audit ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ข้อนี้ รู้ว่าผิดเต็มๆ แต่การจะให้ CAR ต้องคิดหนักหรืออยู่ในสถานการณ์ที่ลำบาก นอกซะจากถ้าหน่วยงานภายนอกตรวจเจอก็คงไม่ลำบากใจเท่า สำหรับที่อื่นที่ยังไม่ได้ทำระบบ มรท. ก็ไม่ทราบเหมือนกันว่ามี case นี้บ้างไหม กรมสวัสดิการแรงงานก็ไม่ค่อยมาดู ถ้าเข้ามาดูจะเน้นพนักงานรายวันมากกว่าซึ่งก็ไม่ขัดกับกฎหมาย
#6
Posted 24 July 2012 - 07:30 PM
เวลาหน่วยงานภายนอกมาตรวจ
Auditor จะสัมภาษณ์พนักงานแบบกลุ่มและแบบเดี่ยว เรื่องโอที เรื่องชั่วโมงทำงาน เรื่องค่าจ้างต่างๆ ซึ่ง Auditor จะสัมภาษณ์แบบลับ
โดยไม่มีหัวหน้างานหรือเจ้าหน้าที่ขององค์กรเข้าร่วมฟังด้วย
ดังนั้นเรื่องแบบนี้ต้องถูกรับทราบแน่นอน หากมีการตรวจติดตามภายในก่อนและปรับวิธีการให้ถูกตามกฎหมาย ก็จะสอดคล้องและเป็นธรรมกับพนักงานครับ
Auditor จะสัมภาษณ์พนักงานแบบกลุ่มและแบบเดี่ยว เรื่องโอที เรื่องชั่วโมงทำงาน เรื่องค่าจ้างต่างๆ ซึ่ง Auditor จะสัมภาษณ์แบบลับ
โดยไม่มีหัวหน้างานหรือเจ้าหน้าที่ขององค์กรเข้าร่วมฟังด้วย
ดังนั้นเรื่องแบบนี้ต้องถูกรับทราบแน่นอน หากมีการตรวจติดตามภายในก่อนและปรับวิธีการให้ถูกตามกฎหมาย ก็จะสอดคล้องและเป็นธรรมกับพนักงานครับ
#7
Posted 25 July 2012 - 03:08 PM
QUOTE(Food Safety @ Jul 24 2012, 07:30 PM) <{POST_SNAPBACK}>
เวลาหน่วยงานภายนอกมาตรวจ
Auditor จะสัมภาษณ์พนักงานแบบกลุ่มและแบบเดี่ยว เรื่องโอที เรื่องชั่วโมงทำงาน เรื่องค่าจ้างต่างๆ ซึ่ง Auditor จะสัมภาษณ์แบบลับ
โดยไม่มีหัวหน้างานหรือเจ้าหน้าที่ขององค์กรเข้าร่วมฟังด้วย
ดังนั้นเรื่องแบบนี้ต้องถูกรับทราบแน่นอน หากมีการตรวจติดตามภายในก่อนและปรับวิธีการให้ถูกตามกฎหมาย ก็จะสอดคล้องและเป็นธรรมกับพนักงานครับ
Auditor จะสัมภาษณ์พนักงานแบบกลุ่มและแบบเดี่ยว เรื่องโอที เรื่องชั่วโมงทำงาน เรื่องค่าจ้างต่างๆ ซึ่ง Auditor จะสัมภาษณ์แบบลับ
โดยไม่มีหัวหน้างานหรือเจ้าหน้าที่ขององค์กรเข้าร่วมฟังด้วย
ดังนั้นเรื่องแบบนี้ต้องถูกรับทราบแน่นอน หากมีการตรวจติดตามภายในก่อนและปรับวิธีการให้ถูกตามกฎหมาย ก็จะสอดคล้องและเป็นธรรมกับพนักงานครับ
ขอบคุณ Food Safety สำหรับข้อเสนอและข้อคิดเห็น
และถ้านายจ้างจ่ายค่าจ้างลักษณะนี้ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ทำระบบ มรท. ก็ถือว่าผิดกฎหมายแรงงานด้วยใช่ไหมคะ
การถูกตรวจภายในก่อน ถ้าให้ข้อนี้เป็นประเด็น Auditor ภายในก็เป็นพนักงานคนหนึ่งก็ลำบากใจเหมือนกันนะคะ บางทีประเด็นข้อนี้ Auditor ภายนอกอาจสุ่มไม่เจอ เนื่องจากส่วนใหญ่สุ่มการจ่ายกับพนักงานรายวันเป็นส่วนใหญ่ ส่วนรายเดือนสุ่มดูสลิปค่ะ
#8
Posted 25 July 2012 - 07:55 PM
QUOTE(Doc. @ Jul 25 2012, 03:08 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ขอบคุณ Food Safety สำหรับข้อเสนอและข้อคิดเห็น
และถ้านายจ้างจ่ายค่าจ้างลักษณะนี้ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ทำระบบ มรท. ก็ถือว่าผิดกฎหมายแรงงานด้วยใช่ไหมคะ
การถูกตรวจภายในก่อน ถ้าให้ข้อนี้เป็นประเด็น Auditor ภายในก็เป็นพนักงานคนหนึ่งก็ลำบากใจเหมือนกันนะคะ บางทีประเด็นข้อนี้ Auditor ภายนอกอาจสุ่มไม่เจอ เนื่องจากส่วนใหญ่สุ่มการจ่ายกับพนักงานรายวันเป็นส่วนใหญ่ ส่วนรายเดือนสุ่มดูสลิปค่ะ
และถ้านายจ้างจ่ายค่าจ้างลักษณะนี้ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ทำระบบ มรท. ก็ถือว่าผิดกฎหมายแรงงานด้วยใช่ไหมคะ
การถูกตรวจภายในก่อน ถ้าให้ข้อนี้เป็นประเด็น Auditor ภายในก็เป็นพนักงานคนหนึ่งก็ลำบากใจเหมือนกันนะคะ บางทีประเด็นข้อนี้ Auditor ภายนอกอาจสุ่มไม่เจอ เนื่องจากส่วนใหญ่สุ่มการจ่ายกับพนักงานรายวันเป็นส่วนใหญ่ ส่วนรายเดือนสุ่มดูสลิปค่ะ
โอเค ลำบากใจก็ลำบากใจครับ แล้วจะนำระบบไปใช้ทำไม
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users