โรงงานผมเป็นโรงงานผลิตอุปกรณ์กึ่งๆ อิเลคทรอนิค ที่มีการใช้ soldering, epoxy, acetone, IPA มีเครื่องปั่นไฟด้วยน้ำมันดีเซล 2 เครื่อง มีการเก็บน้ำมันดีเซลไว้ประมาณ 1,000 ลิตร มีการใช้แก๊สไนโตรเจน และอีกมากมาย
แต่ผมจะขึ้นทะเบียนและตรวจสอบความสอดคล้องกับกฎหมายเพียง 2 ฉบับคือ
1. พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ.2535
2. พระราชกฤษฏีกาส่งเสริมและอนุรักษ์คุณภาพแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
โดยไม่สนใจประกาศและกฏกระทรวงอื่นๆ ที่มีเลย แล้วผมสามารถทำ ISO14001 จนสำเร็จและได้รับการรับรอง
รบกวนท่านทั้งหลายช่วยคลายข้อข้องใจให้หน่อยครับ
ขอบคุณครับ
ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com
เป็นไปได้ไหมครับว่า.....
Started by
หมอนทอง
, Apr 02 2009 10:46 AM
7 replies to this topic
#1
Posted 02 April 2009 - 10:46 AM
óç
#2
Posted 02 April 2009 - 11:12 AM
QUOTE(โอ๋ @ Apr 2 2009, 10:46 AM) <{POST_SNAPBACK}>
โรงงานผมเป็นโรงงานผลิตอุปกรณ์กึ่งๆ อิเลคทรอนิค ที่มีการใช้ soldering, epoxy, acetone, IPA มีเครื่องปั่นไฟด้วยน้ำมันดีเซล 2 เครื่อง มีการเก็บน้ำมันดีเซลไว้ประมาณ 1,000 ลิตร มีการใช้แก๊สไนโตรเจน และอีกมากมาย
แต่ผมจะขึ้นทะเบียนและตรวจสอบความสอดคล้องกับกฎหมายเพียง 2 ฉบับคือ
1. พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ.2535
2. พระราชกฤษฏีกาส่งเสริมและอนุรักษ์คุณภาพแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
โดยไม่สนใจประกาศและกฏกระทรวงอื่นๆ ที่มีเลย แล้วผมสามารถทำ ISO14001 จนสำเร็จและได้รับการรับรอง
รบกวนท่านทั้งหลายช่วยคลายข้อข้องใจให้หน่อยครับ
ขอบคุณครับ
แต่ผมจะขึ้นทะเบียนและตรวจสอบความสอดคล้องกับกฎหมายเพียง 2 ฉบับคือ
1. พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ.2535
2. พระราชกฤษฏีกาส่งเสริมและอนุรักษ์คุณภาพแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
โดยไม่สนใจประกาศและกฏกระทรวงอื่นๆ ที่มีเลย แล้วผมสามารถทำ ISO14001 จนสำเร็จและได้รับการรับรอง
รบกวนท่านทั้งหลายช่วยคลายข้อข้องใจให้หน่อยครับ
ขอบคุณครับ
ความเห็นต่อไปนี้จะตรงกับคำถามหรือเปล่า ไม่แน่ใจ เพราะไม่ค่อย เคลียร์กับ คำถามสักเท่าไหร่
พอจะจับประเด็นได้ว่า จะทำ 14001 หรือ ทำไปแล้วอะไรนี่ล่ะ แล้วก็ได้รับการรับรองไปแล้วอีกต่างหาก
แต่จะตอบในแง่กำลังจะทำ 14001 แล้วกันนะครับ
การทำ 14001 จะต้องค้นหา aspect ที่เกิดจาก กิจกรรมทางตรง (หรือกิจกรรมขององค์กร) และ กิจกรรมทางอ้อม (กิจกรรมของบรรดาผู้รับเหมา/ผู้ปฏิบัติงานในนามองค์กร/ผู้ที่ปฏิบัติงานให้กับองค์กร) เสียก่อน
จากนั้นจึงจะไปหามาว่า aspect แต่ละตัวนั้น เกี่ยวข้องกับกฎหมายฉบับใด และข้อใดบ้าง
ยกตัวอย่างเช่น องค์กรหนึ่ง มี aspect คือ 1 ตัว (ความจริงแต่ละองค์กรเนี่ย มี aspect หลายสิบ หรืออาจถึงหลายร้อย) ได้แก่ ควันดำ จากรถบรรทุก และ น้ำทิ้งจากอาคารขนาด 15,000 ตารางเมตร
เราต้องไปหาว่า ควันดำ และ น้ำทิ้งจากอาคารนั้น มีกฎหมายฉบับใดเกี่ยวข้องบ้าง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับควันดำก็คือ
1) ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540 เรื่อง กำหนดมาตรฐานค่าควันดำจากท่อไอเสียรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล (ทุกข้อ)
2) ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2541 เรื่อง กำหนดมาตรฐานค่าควันดำจากท่อไอเสียรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล (ทุกข้อ)
กฎหมายเกี่ยวกับน้ำทิ้งก็คือ ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาต และสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายบน้ำทิ้งจากอาคารบางประเภทหรือบางขนาด ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2548 ข้อ 4(5) และข้อ 9 (1)-(8)
ดังนั้น ลำพัง กฎหมายสองฉบับ ที่ยกขึ้นมานั้น ไม่เพียงพอ สำหรับการทำ 14001 ได้อย่างมีประสิทธิผลสอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำหนด 4.2 © 4.3.2 และ 4.5.2 หรอกครับ
และถ้าหากได้รับการรับรองมาแล้ว คงไม่บังอาจจะไป วิจารณ์การทำงานของ Certification body แต่ยังไงๆ ก็ไม่น่าหลุด เพราะ ISO 14001 ต้องมี initial review ก่อน และน่าจะเจอประเด็นที่เกี่ยวกับกฎหมายไม่ครบตั้งแต่ process ดังกล่าวแล้วน่ะ
"
#3
Posted 02 April 2009 - 12:01 PM
ณ ปัจจุบัน ที่บริษัทก็ทำตามที่คุณจอมโจรจอมใจแนะนำค่ะ
กระทรวงไหนประกาศกฏหมายอะไร ก็ตาม update
พร้อมประเมินความสอดคล้องกับกิจกรรม และผลิตภัณฑ์ของบริษัท
เคยผ่านประสบการณ์ทำงานการรับรองจาก CB 3 เจ้า
เค้าก็ตรวจรับรองตามที่คุณจอมโจรจอมใจนะค่ะ
กระทรวงไหนประกาศกฏหมายอะไร ก็ตาม update
พร้อมประเมินความสอดคล้องกับกิจกรรม และผลิตภัณฑ์ของบริษัท
เคยผ่านประสบการณ์ทำงานการรับรองจาก CB 3 เจ้า
เค้าก็ตรวจรับรองตามที่คุณจอมโจรจอมใจนะค่ะ
#4
Posted 02 April 2009 - 12:12 PM
ที่แน่ต้องมีพรบ.วัตถุอันตรายเกี่ยวข้องแน่ และก็เกี่ยวกับจป. ที่ต้องรายงานสารเคมี ตามที่ท่านชอลิ้วเฮียงบอกนะถูกต้องครับต้องประเทินความสอดคล้องกับกฎหมายด้วยทุกฉบับ
ขอบอก
ขอบอก
การมีความรู้ มาจากการเรียนรู้ และปฏิบัติ หากเรียนอย่างเดียวไม่ปฏิบัีติก็เรียกว่ารุ้ไม่จริง
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
#5
Posted 02 April 2009 - 01:06 PM
ยังไม่ได้รับการรับรองครับ กำลังทำอยู่
คือผมทำตาม process ปกติของการทำ ISO14001 ดังที่ท่านจอมโจรจอมใจกล่าวไว้ แต่ผม list aspect และเชื่อมโยงกลับมาที่กฏหมาย ประกาศ และกฏกระทรวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้รวมประมาณ 97 ฉบับ และเมื่อนำไปเสนอผู้บริหารผมกลับได้รับคำตอบว่าไม่สนจะขึ้นทะเบียนและประเมินความสอด
คล้องเพียงแค่ 2 ฉบับดังกล่าว เพราะหากจะต้องทำตามฉบับอื่นๆ ด้วยนั้นทางโรงงานจะต้องไปยื่นเรื่องกับทางส่วนราชการ เช่น การยื่นขอครอบครองวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 และอื่นๆ เป็นต้น ผู้บริหารบอกว่าวุ่นวายและต้องจ่ายใต้โต๊ะอีก ไม่เอา!!! นี่ยังไม่รวมรายงานที่ต้องส่งประจำอีกนะครับ ที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 47 ไม่เคยส่งเลย และมีคำสั่งว่าไม่ต้องทำและไม่ต้องส่ง แต่คุณจะต้องทำให้ผ่านการรับรองให้ได้ ผมถอยเกือบไม่ทันเลยครับ
หากท่านๆ เป็น Team Leader ISO14001 ท่านๆ จะแก้ปัญหานี้อย่างไรครับ
คือผมทำตาม process ปกติของการทำ ISO14001 ดังที่ท่านจอมโจรจอมใจกล่าวไว้ แต่ผม list aspect และเชื่อมโยงกลับมาที่กฏหมาย ประกาศ และกฏกระทรวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้รวมประมาณ 97 ฉบับ และเมื่อนำไปเสนอผู้บริหารผมกลับได้รับคำตอบว่าไม่สนจะขึ้นทะเบียนและประเมินความสอด
คล้องเพียงแค่ 2 ฉบับดังกล่าว เพราะหากจะต้องทำตามฉบับอื่นๆ ด้วยนั้นทางโรงงานจะต้องไปยื่นเรื่องกับทางส่วนราชการ เช่น การยื่นขอครอบครองวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 และอื่นๆ เป็นต้น ผู้บริหารบอกว่าวุ่นวายและต้องจ่ายใต้โต๊ะอีก ไม่เอา!!! นี่ยังไม่รวมรายงานที่ต้องส่งประจำอีกนะครับ ที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 47 ไม่เคยส่งเลย และมีคำสั่งว่าไม่ต้องทำและไม่ต้องส่ง แต่คุณจะต้องทำให้ผ่านการรับรองให้ได้ ผมถอยเกือบไม่ทันเลยครับ
หากท่านๆ เป็น Team Leader ISO14001 ท่านๆ จะแก้ปัญหานี้อย่างไรครับ
óç
#6
Posted 02 April 2009 - 01:25 PM
ต้องกลับไปถามตัวเองและผู้บริหารก่อนว่าทำ ISO14001 ไปทำไม ถ้าบอกว่าทำเพราะลูกค้าบอกให้ทำก็จบตามนั้นที่เขาบอกคุณว่าต้องให้ผ่านให้ได้ แต่ถ้าบอกว่าทำเพราะอยากทำเองผมว่าตามกฎหมายก็ต้องทำ แต่เดาเลยว่าอย่างแรกฟันธง ถามผมเป็น Lead Auditor ก็คงให้ CAR ละครับเพราะไม่สอดคล้องกับกฎหมายอิอิ
การมีความรู้ มาจากการเรียนรู้ และปฏิบัติ หากเรียนอย่างเดียวไม่ปฏิบัีติก็เรียกว่ารุ้ไม่จริง
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
#7
Posted 02 April 2009 - 01:31 PM
QUOTE(โอ๋ @ Apr 2 2009, 01:06 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ยังไม่ได้รับการรับรองครับ กำลังทำอยู่
คือผมทำตาม process ปกติของการทำ ISO14001 ดังที่ท่านจอมโจรจอมใจกล่าวไว้ แต่ผม list aspect และเชื่อมโยงกลับมาที่กฏหมาย ประกาศ และกฏกระทรวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้รวมประมาณ 97 ฉบับ และเมื่อนำไปเสนอผู้บริหารผมกลับได้รับคำตอบว่าไม่สนจะขึ้นทะเบียนและประเมินความสอด
คล้องเพียงแค่ 2 ฉบับดังกล่าว เพราะหากจะต้องทำตามฉบับอื่นๆ ด้วยนั้นทางโรงงานจะต้องไปยื่นเรื่องกับทางส่วนราชการ เช่น การยื่นขอครอบครองวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 และอื่นๆ เป็นต้น ผู้บริหารบอกว่าวุ่นวายและต้องจ่ายใต้โต๊ะอีก ไม่เอา!!! นี่ยังไม่รวมรายงานที่ต้องส่งประจำอีกนะครับ ที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 47 ไม่เคยส่งเลย และมีคำสั่งว่าไม่ต้องทำและไม่ต้องส่ง แต่คุณจะต้องทำให้ผ่านการรับรองให้ได้ ผมถอยเกือบไม่ทันเลยครับ
หากท่านๆ เป็น Team Leader ISO14001 ท่านๆ จะแก้ปัญหานี้อย่างไรครับ
คือผมทำตาม process ปกติของการทำ ISO14001 ดังที่ท่านจอมโจรจอมใจกล่าวไว้ แต่ผม list aspect และเชื่อมโยงกลับมาที่กฏหมาย ประกาศ และกฏกระทรวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้รวมประมาณ 97 ฉบับ และเมื่อนำไปเสนอผู้บริหารผมกลับได้รับคำตอบว่าไม่สนจะขึ้นทะเบียนและประเมินความสอด
คล้องเพียงแค่ 2 ฉบับดังกล่าว เพราะหากจะต้องทำตามฉบับอื่นๆ ด้วยนั้นทางโรงงานจะต้องไปยื่นเรื่องกับทางส่วนราชการ เช่น การยื่นขอครอบครองวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 และอื่นๆ เป็นต้น ผู้บริหารบอกว่าวุ่นวายและต้องจ่ายใต้โต๊ะอีก ไม่เอา!!! นี่ยังไม่รวมรายงานที่ต้องส่งประจำอีกนะครับ ที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 47 ไม่เคยส่งเลย และมีคำสั่งว่าไม่ต้องทำและไม่ต้องส่ง แต่คุณจะต้องทำให้ผ่านการรับรองให้ได้ ผมถอยเกือบไม่ทันเลยครับ
หากท่านๆ เป็น Team Leader ISO14001 ท่านๆ จะแก้ปัญหานี้อย่างไรครับ
จะไม่วิจารณ์บอสของคุณนะครับ แต่เมื่อเกิดปัญหาอย่างนี้ เราจะต้อง balance ความต้องการของ บอส และ ความต้องการของกฎหมายให้เหมาะสม และใช้เวลา/ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญค่อยๆ ไปปรับเปลี่ยนทัศนคติของบอสท่าน
ลองพิจารณาแนวทางนี้ดูนะครับ....
พยายามหาทางประยุกต์ใช้ข้อกำหนดให้มันเป็นภาระกับองค์กรของเราน้อยที่สุด.....เอาแบบ back to the basic aspect ตัวไหนที่เข้าข่ายจะต้องเสียเงินเสียทอง เงินใต้โต๊ะ ในอ่าง นอกอ่าง ^^ เราเหยียบ เอ๊ยยยย เก็บมันไว้ก่อน
แต่ aspect อันไหน และกฎหมายฉบับไหนที่ไม่ต้องมีค่าใช้จ่าย ทำอันนั้นให้มากเข้าไว้ หรือ หากมันมีค่าใช้จ่ายที่จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายอยู่บ้าง ก็หาวิธีอื่นที่ไม่เสียตังค์หรือเสียตังค์น้อยลงมาชดเชยเอา
เช่น การตรวจคุณภาพน้ำทิ้ง ฝุ่นละออง เสียงดัง ฯลฯ เหล่านี้
1) ลองติดต่อ มหาวิทยาลัยให้ส่งนักศึกษาฝึกงานมาช่วยทำด้านนี้ซะ เราให้โอกาส และสถานประกอบการเป็นที่ฝึกงาน นักศึกษาก็ได้ความรู้ และทักษะกลับไป และก็ให้ จ่ายเงินช่วยเหลือเล็กๆ น้อยๆ เป็นค่าเดินทาง/ค่าอาหารกลางวัน win win ด้วยกันทั้งสองฝ่ายคุ้มจริงๆ นะเออ..(ผมทำอยู่ ^^) ลองติดต่อไปที่ มหาวิทยาลัยที่มีภาควิชาสิ่งแวดล้อม เช่น บูรพา หัวเฉียว เกษตร มหิดล ฯลฯ ดูนะครับ
2) ให้คนของเราที่มีทักษะจะทำหน้าที่ตรวจวัดในบาง parameter เช่น จป. เป็นผู้ตรวจ เช่น การตรวจวัดเสียงดัง ควันดำ โดยไปยืมอุปกรณ์จาก เพื่อน จากหน่วยงานราชการมาใช้ เช่น ศูนย์ความปลอดภัยในการทำงาน สถาบันความปลอดภัยฯ มหาวิทยาลัยฯ (อนาถาดีแท้หน๊อออ อิอิอิ)
เมื่อได้รับการรับรองไปแล้ว CB จะช่วยพัฒนาให้ท่านเองนั่นล่ะครับ ไม่งั้นโดนยึดใบรับรองแหง่มๆ
"
#8
Posted 02 April 2009 - 01:40 PM
ขออนุญาตเปลี่ยนชื่อเล่นในบอร์ดนะครับ เพราะกลัวภัยมาถึงตัว
ขอบคุณครับ สำหรับคำแนะนำและกำลังใจ ตอนนี้อยู่ในช่วงถอยมาตั้งหลักและ cheer up ตัวเองอยู่ครับ
เมื่อพร้อมแล้วผมจะเริ่มใหม่ คิดว่าคราวนี้จะใช้ทฤษฎีกบครับ ค่อยๆ เติมน้ำร้อนเข้าไปและค่อยๆ เร่งไฟให้แรงขึ้นครับ จะไม่ผลีผลามเหมือนคราวก่อนแล้วครับ
สู้ไม่ถอยอยู่แล้วไอ้มดแดง Never Giving Up!!!
ขอบคุณครับ สำหรับคำแนะนำและกำลังใจ ตอนนี้อยู่ในช่วงถอยมาตั้งหลักและ cheer up ตัวเองอยู่ครับ
เมื่อพร้อมแล้วผมจะเริ่มใหม่ คิดว่าคราวนี้จะใช้ทฤษฎีกบครับ ค่อยๆ เติมน้ำร้อนเข้าไปและค่อยๆ เร่งไฟให้แรงขึ้นครับ จะไม่ผลีผลามเหมือนคราวก่อนแล้วครับ
สู้ไม่ถอยอยู่แล้วไอ้มดแดง Never Giving Up!!!
óç
0 user(s) are reading this topic
0 members, 0 guests, 0 anonymous users