Jump to content


ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

Photo

cost of poor quality


  • Please log in to reply
3 replies to this topic

#1 Weerasaktop

Weerasaktop

    Super Member

  • Power Members
  • PipPip
  • 53 posts

Posted 09 September 2013 - 10:57 AM

เรียนอาจารย์ทุกท่าน

ผมมีเรื่องไม่เข้าใจเกี่ยวกับ KPI Cost of poor quality คือบรฺษัทผมทำเกี่ยวกับงานฉีดพลาสติก

เวลาผมทำจะเอางาน NG ทั้งหมดมารวมกันแล้วคูณด้วยราคาขายแล้วเทียบกับ Target ที่ตั้งไว้

แต่ถ้างาน NG ทีคำนวณสามารถเอากับมาซ่อมได้เอามาคำนวณจะผิดไหมครับรบกวนด้วยนะครับ

ขอบคุณทุกท่านทีีตอบครับ



#2 iso_man

iso_man

    Super Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 5,134 posts
  • Gender:Male

Posted 09 September 2013 - 06:22 PM

ปกติจะเป็น 2 ส่วน คืองาน NG เลยกับ NC ที่นำกลับมา Repair ดูชม.ของการ Repair และคิดค่าแรงการดำเนินกิจกรรมดังกล่าว


การมีความรู้ มาจากการเรียนรู้ และปฏิบัติ หากเรียนอย่างเดียวไม่ปฏิบัีติก็เรียกว่ารุ้ไม่จริง
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451

#3 Tuk

Tuk

    Kitti Ampawa

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPip
  • 662 posts
  • Gender:Male
  • Location:Bangkok

Posted 10 September 2013 - 08:26 AM

ถ้าเป็นงานที่นำกลับมาซ่อม จะคิดค่าใช้จ่ายของ ค่าแรงที่ใช้ในการซ่อม+ค่าของที่ใช้ในการซ่อม+ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบซ้ำ


Mr. Kitti Ampawa
kampawa@gmail.com

#4 นุกูล

นุกูล

    Super Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 4,797 posts
  • Gender:Male

Posted 11 September 2013 - 06:37 AM

เรียนอาจารย์ทุกท่าน

ผมมีเรื่องไม่เข้าใจเกี่ยวกับ KPI Cost of poor quality คือบรฺษัทผมทำเกี่ยวกับงานฉีดพลาสติก

เวลาผมทำจะเอางาน NG ทั้งหมดมารวมกันแล้วคูณด้วยราคาขายแล้วเทียบกับ Target ที่ตั้งไว้

แต่ถ้างาน NG ทีคำนวณสามารถเอากับมาซ่อมได้เอามาคำนวณจะผิดไหมครับรบกวนด้วยนะครับ

ขอบคุณทุกท่านทีีตอบครับ

 

COPQ ประกอบไปด้วย ต้นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม เช่น

  • เวลามีงาน NG ที่ต้องทิ้ง เกิดต้นทุนจากวัตุถุดิบ แรงงาน กระบวนการผลิต ค่าเสื่อมเครื่องจักร อันนี้คิดจากราคาขายเลย ง่ายดี
  • เวลาเกิดงาน NC ที่สามารถซ่อมได้ เราซ่อม ก็มีต้นทุนในการซ่อม เช่น ค่าแรงงาน ค่าตรวจสอบซ้ำ ค่า Packaging ใหม่
  • เวลางานมีปัญหา และต้องทำการแลกเปลี่ยน หรือ Recheck ก็เกิดต้นทุน ค่าเดินทาง ค่าน้ำมัน ค่าแรงงาน
  • เวลาเกิดงาน Claim ก็มีต้นทุน เช่น
  1. ค่าใช้จ่ายในการเข้าไปรับฟังปัญหา บางครั้งมีคนขับรถให้ QA Manager + Production Manager + Engineering Manager ในการเข้าไปพบลูกค้า
  2. ค่าแรงงานของคนที่ว่ามาข้างต้น
  3. ค่าเดินทาง
  4. ค่าน้ำมัน
  5. ค่าเสียเวลาในการวิเคราะห์เหตุ ประชุมหามาตรการแก้ไข (Manager เป็น 10 คิดว่าค่าแรงแพงไหม)
  6. ค่าใช้จ่ายในการเตรียมการและการเข้าไปนำเสนอแนวทางแก้ไขต่อลูกค้า

ทั้งหมดที่ว่ามา สามารถนำมาคิด COPQ ได้ครับ

ดังนั้น กรณีงานซ่อม สามารถคิด COPQ ได้เลย แต่อาจจะจัดอยู่ในกลุ่มต้นทุนในการซ่อมแซมชิ้นงานครับ โอเครเน๊าะ


Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939

Facebook: Nukool Thanuanram

Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com


เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"





1 user(s) are reading this topic

0 members, 1 guests, 0 anonymous users