คือผมเพิ่งมีโอกาสทำงานในอุตสาหกรรมอาหารในกระบวนการต้มน้ำหนักก่อนต้มกับหลังต้มไม่
เท่ากันผมควรจะคิด yield ในการต้มยังไงดีครับ
ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

ช่วยด้วยครับจะคิด yield กระบวนการต้มยังไงดีครับ
Started by
westwood379
, Sep 09 2010 06:43 PM
2 replies to this topic
#1
Posted 09 September 2010 - 06:43 PM
#2
Posted 09 September 2010 - 07:33 PM
ก่อนต้ม กับหลังต้ม มันไม่น่าจะเท่ากันอยู่แล้วครับ
เพราะมี Loss จากการสูญเสียน้ำ ดังนั้นกระบวนการ cooking %yield <100% แน่นอน
output/input x100
เพราะมี Loss จากการสูญเสียน้ำ ดังนั้นกระบวนการ cooking %yield <100% แน่นอน
output/input x100
#3
Posted 12 September 2010 - 07:54 AM
แถมจากพี่ Food
กระบวนการ ต้ม (ตุ๋น) อยู่ที่ว่าเสียอะไรไป หรือ ได้อะไรมา (หากเราเป็นผู้ต้ม ไม่ได้โดนต้ม เสียเิอง)
วัตถุดิบ บางอย่าง ซับน้ำ บางอย่างคายน้ำ แล้วแต่คุณต้มอะไร
เช่นหากคุณต้ม มาม่า คุณไ้ด้น้ำหนักเพิ่ม (โดยเฉพาะหากกินก่อนนอน)
หากสิ่งที่เราศึกษา ว่ากระบวนการต้ม เราเสียอะไรไปในกระบวนการ
เราน่าจะสนใจ ว่าที่ต้มเสีย เททิ้งไป เป็นหม้อๆ เป็น Batch เท่าไหร่ต่อวัน ต่อเดือน
เราน่าจะสนใจ กากตะกอน ในก้นหม้อต้อม ว่าเราใส่วัตถุดิบเท่านี้ มีกาก มีเศษ มีตะกอนเท่าไหร่
เพราะ yield นี้ จะบอกได้ว่า วิธีการต้ม และ การเตรียมวัตถุดิบให้พร้อมถูำกต้ม
เราทำได้ดี มี productivity พอใหม
ที่จริง คำถามไม่เฉพาะพอ
หากคุณศึกษา yield ต้องถามก่อนว่า ศึกษา yield ขั้นตอนนี้ไปเพื่อ .......
หากรู้ว่า เราศึกษาำไปเพื่อ ...... เราจะรู้ว่าใช้วิธีการไหน ใช้วิธีคิดแบบใดดี
เช่นหากคุณ ต้ม ซุบไก่ Output กับ input ไม่เหมือนกัน เทียบกันบ่ได้
หากคุณ ต้มยำทำแกง ผมแนะนำว่า ต้องไม่เหลือก้นหม้อครับ โดยซัดเกลี้ยง อย่างนี้ ประสิทธิภาพการใช้วัตถุดิบเป็น 100 %
ฟันธง
จากหมอลักษณ์
กระบวนการ ต้ม (ตุ๋น) อยู่ที่ว่าเสียอะไรไป หรือ ได้อะไรมา (หากเราเป็นผู้ต้ม ไม่ได้โดนต้ม เสียเิอง)
วัตถุดิบ บางอย่าง ซับน้ำ บางอย่างคายน้ำ แล้วแต่คุณต้มอะไร
เช่นหากคุณต้ม มาม่า คุณไ้ด้น้ำหนักเพิ่ม (โดยเฉพาะหากกินก่อนนอน)
หากสิ่งที่เราศึกษา ว่ากระบวนการต้ม เราเสียอะไรไปในกระบวนการ
เราน่าจะสนใจ ว่าที่ต้มเสีย เททิ้งไป เป็นหม้อๆ เป็น Batch เท่าไหร่ต่อวัน ต่อเดือน
เราน่าจะสนใจ กากตะกอน ในก้นหม้อต้อม ว่าเราใส่วัตถุดิบเท่านี้ มีกาก มีเศษ มีตะกอนเท่าไหร่
เพราะ yield นี้ จะบอกได้ว่า วิธีการต้ม และ การเตรียมวัตถุดิบให้พร้อมถูำกต้ม
เราทำได้ดี มี productivity พอใหม
ที่จริง คำถามไม่เฉพาะพอ
หากคุณศึกษา yield ต้องถามก่อนว่า ศึกษา yield ขั้นตอนนี้ไปเพื่อ .......
หากรู้ว่า เราศึกษาำไปเพื่อ ...... เราจะรู้ว่าใช้วิธีการไหน ใช้วิธีคิดแบบใดดี
เช่นหากคุณ ต้ม ซุบไก่ Output กับ input ไม่เหมือนกัน เทียบกันบ่ได้
หากคุณ ต้มยำทำแกง ผมแนะนำว่า ต้องไม่เหลือก้นหม้อครับ โดยซัดเกลี้ยง อย่างนี้ ประสิทธิภาพการใช้วัตถุดิบเป็น 100 %
ฟันธง
จากหมอลักษณ์
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users