EU ได้ทดสอบวิเคราะห์หา แคดเมียม ตะกั่ว สารหนู ปรอท และสารหนูอนินทรีย์ในเห็ด โดยพบว่ามีสารหนูและสารหนูอนินทรีย์เพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2553
Ø ค่าสูงสุดของโลหะหนักที่มีได้ในเห็ด ของกฎระเบียบ Regulation (EC) No.1881/2006 ของสหภาพยุโรป กำหนดให้เห็ดนางรมและเห็ดหอม มีแคดเมียม ≤ 0.2 mg/kg และมีตะกั่ว ≤ 0.3 mg/kg ส่วนโลหะหนักอื่นๆ ≤ 1 mg/kg แต่สารหนูอนินทรีย์และ methylmercury ไม่มีค่าสูงสุดกำหนด
Ø ปัจจุบันมีผู้บริโภคเห็ดเพิ่มขึ้นและให้ความสำคัญด้านความปลอดภัยอาหาร ทำให้ในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเพื่อส่งออกที่มีส่วนประกอบของเห็ดในอาหาร จะต้องระวังการปนเปื้อนของโลหะหนักให้ไม่เกินตามกฎระเบียบ Regulation (EC) No.1881/2006 ของ EU เนื่องจากอาจจะส่งผลต่อการถูกกักกันสินค้า/การถูกทำลาย หรือห้ามนำเข้าสินค้าในล็อตต่อไป
Ø สารหนูเป็นธาตุกึ่งโลหะเป็นสารที่มีลักษณะเป็นผงสีเทา สารหนูที่พบในธรรมชาติมี 2 แบบ คือสารหนูอินทรีย์ (Organic)และสารหนูอนินทรีย์ (Inorganic) โดยสารหนูอนินทรีย์มีพิษร้ายแรงกว่าสารหนูอินทรีย์ สารหนูอนินทรีย์ส่วนใหญ่พบในแหล่งโรงงานอุตสาหกรรมและแหล่งที่ใช้สารกำจัดศัตรูพืช
Ø ค่าสูงสุดของโลหะหนักที่มีได้ในเห็ด ของกฎระเบียบ Regulation (EC) No.1881/2006 ของสหภาพยุโรป กำหนดให้เห็ดนางรมและเห็ดหอม มีแคดเมียม ≤ 0.2 mg/kg และมีตะกั่ว ≤ 0.3 mg/kg ส่วนโลหะหนักอื่นๆ ≤ 1 mg/kg แต่สารหนูอนินทรีย์และ methylmercury ไม่มีค่าสูงสุดกำหนด
Ø ปัจจุบันมีผู้บริโภคเห็ดเพิ่มขึ้นและให้ความสำคัญด้านความปลอดภัยอาหาร ทำให้ในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเพื่อส่งออกที่มีส่วนประกอบของเห็ดในอาหาร จะต้องระวังการปนเปื้อนของโลหะหนักให้ไม่เกินตามกฎระเบียบ Regulation (EC) No.1881/2006 ของ EU เนื่องจากอาจจะส่งผลต่อการถูกกักกันสินค้า/การถูกทำลาย หรือห้ามนำเข้าสินค้าในล็อตต่อไป
Ø สารหนูเป็นธาตุกึ่งโลหะเป็นสารที่มีลักษณะเป็นผงสีเทา สารหนูที่พบในธรรมชาติมี 2 แบบ คือสารหนูอินทรีย์ (Organic)และสารหนูอนินทรีย์ (Inorganic) โดยสารหนูอนินทรีย์มีพิษร้ายแรงกว่าสารหนูอินทรีย์ สารหนูอนินทรีย์ส่วนใหญ่พบในแหล่งโรงงานอุตสาหกรรมและแหล่งที่ใช้สารกำจัดศัตรูพืช
ที่มา Foodnavigator (13/2/58)