ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

MSA Type Non-Replicate
#1
Posted 01 September 2012 - 05:22 PM
#2
Posted 01 September 2012 - 11:59 PM
ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการทดสอบ Finished Product ซึ่งผ่านการประกอบมาแล้ว เช่น test torque spot nut, welding tensile test ,
hardness test หรืองานทดสอบอื่นๆตามข้อกำหนดของลูกค้า งานลักษณะนี้จะทดสอบแค่ 1 ครั้งต่อหนึ่งตัวอย่าง
การประเมิน MSA จะใช้แผนภูมิควบคุมแบบ X-mR chart ของ SPC 2nd ครับ
แต่กรณีคุณสามารถแบ่งชิ้นทดสอบออกเป็นชิ้นส่วนย่อย 3 ชิ้น โดยต้องมั่นใจว่า properties ไม่เปลี่ยน คุณก็สามารถใช้ GR&R ประเมินได้ครับ
โดยใช้ชิ้นงานทดสอบ 10 ชิ้น แต่ละชิ้นแบ่งออกเป็น 3 ชิ้นย่อย ก็จะได้ชิ้นย่อย 30 ชิ้น แต่วิธีนี้ไม่แนะนำครับ มันยุ่งยากมากและไม่เหมาะกับชิ้นงานที่ประกอบแล้ว
หรือกรณีเป็นงานตรวจวัดที่ไม่สามารถตรวจซ้ำ 2 หรือซ้ำ 3 ได้ใน Product 1 หน่วย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นของเหลว
เช่น การตรวจค่าความหนืดของ adhesive (กาว),sealant,จาระบี,น้ำมันเครื่อง,น้ำมันเกียร์,สี,สารหล่อเย็น ผลิตภัณฑ์ประเภทนี้เรียกว่า bulk material
(ถ้าอยากรู้ว่ามี อะไรบ้างให้ไปเปิด Apendix F ของ PPAP 4th เรื่อง PPAP for Bulk Material)
ซึ่งการตรวจวัดผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ก็ต้องประเมิน MSA เหมือนกันครับ โดยใช้ x-mR chart ของ SPC 2nd เหมือนงานทดสอบ
X-mR หรือ I-mR (individual and moving range) แผนภูมินี้ใช้ n = 1 หมายถึง แต่ละครั้งในการสุ่มจะใช้ชิ้นงานแค่ 1 ชิ้นหรือ 1 หน่วยเท่านั้น
และจะทำการวัดหรือทดสอบ 1 คร้ัง ไม่มีการวัดซ้ำดังคำอธิบายข้างต้น
จำนวนกลุ่มตัวอย่าง k = 30 กลุ่ม ความถี่ในการสุ่มดูตามความเหมาะสมครับ และต้องประเมินกับกระบวนการที่ Stable
เกณฑ์ประเมินผ่าน/ไม่ผ่าน ใช้วิธีเดียวกับ SPC ครับ คือประเมินทั้ง Primary และ Secondary
แต่ Secondary เน้นประเมินแนวโน้ม (trend) อย่างเดียวครับ
หากท่านใดต้องการตัวอย่าง x-mR วิธีคำนวณและเกณฑ์การประเมิน รบกวนทิ้งเมล์ไว้นะครับ
ผมจะจัดส่งตัวอย่างไปให้ครับ

อังคพล
#3
Posted 03 September 2012 - 12:14 PM
ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการทดสอบ Finished Product ซึ่งผ่านการประกอบมาแล้ว เช่น test torque spot nut, welding tensile test ,
hardness test หรืองานทดสอบอื่นๆตามข้อกำหนดของลูกค้า งานลักษณะนี้จะทดสอบแค่ 1 ครั้งต่อหนึ่งตัวอย่าง
การประเมิน MSA จะใช้แผนภูมิควบคุมแบบ X-mR chart ของ SPC 2nd ครับ
แต่กรณีคุณสามารถแบ่งชิ้นทดสอบออกเป็นชิ้นส่วนย่อย 3 ชิ้น โดยต้องมั่นใจว่า properties ไม่เปลี่ยน คุณก็สามารถใช้ GR&R ประเมินได้ครับ
โดยใช้ชิ้นงานทดสอบ 10 ชิ้น แต่ละชิ้นแบ่งออกเป็น 3 ชิ้นย่อย ก็จะได้ชิ้นย่อย 30 ชิ้น แต่วิธีนี้ไม่แนะนำครับ มันยุ่งยากมากและไม่เหมาะกับชิ้นงานที่ประกอบแล้ว
หรือกรณีเป็นงานตรวจวัดที่ไม่สามารถตรวจซ้ำ 2 หรือซ้ำ 3 ได้ใน Product 1 หน่วย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นของเหลว
เช่น การตรวจค่าความหนืดของ adhesive (กาว),sealant,จาระบี,น้ำมันเครื่อง,น้ำมันเกียร์,สี,สารหล่อเย็น ผลิตภัณฑ์ประเภทนี้เรียกว่า bulk material
(ถ้าอยากรู้ว่ามี อะไรบ้างให้ไปเปิด Apendix F ของ PPAP 4th เรื่อง PPAP for Bulk Material)
ซึ่งการตรวจวัดผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ก็ต้องประเมิน MSA เหมือนกันครับ โดยใช้ x-mR chart ของ SPC 2nd เหมือนงานทดสอบ
X-mR หรือ I-mR (individual and moving range) แผนภูมินี้ใช้ n = 1 หมายถึง แต่ละครั้งในการสุ่มจะใช้ชิ้นงานแค่ 1 ชิ้นหรือ 1 หน่วยเท่านั้น
และจะทำการวัดหรือทดสอบ 1 คร้ัง ไม่มีการวัดซ้ำดังคำอธิบายข้างต้น
จำนวนกลุ่มตัวอย่าง k = 30 กลุ่ม ความถี่ในการสุ่มดูตามความเหมาะสมครับ และต้องประเมินกับกระบวนการที่ Stable
เกณฑ์ประเมินผ่าน/ไม่ผ่าน ใช้วิธีเดียวกับ SPC ครับ คือประเมินทั้ง Primary และ Secondary
แต่ Secondary เน้นประเมินแนวโน้ม (trend) อย่างเดียวครับ
หากท่านใดต้องการตัวอย่าง x-mR วิธีคำนวณและเกณฑ์การประเมิน รบกวนทิ้งเมล์ไว้นะครับ
ผมจะจัดส่งตัวอย่างไปให้ครับ

อังคพล
ขอบคุณมากครับ
ที่อธิบายให้ผมเข้าใจมากยิ่งขึ้นครับ
kittikhun_s@ts-engineering.com
#4
Posted 03 September 2012 - 03:34 PM
ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการทดสอบ Finished Product ซึ่งผ่านการประกอบมาแล้ว เช่น test torque spot nut, welding tensile test ,
hardness test หรืองานทดสอบอื่นๆตามข้อกำหนดของลูกค้า งานลักษณะนี้จะทดสอบแค่ 1 ครั้งต่อหนึ่งตัวอย่าง
การประเมิน MSA จะใช้แผนภูมิควบคุมแบบ X-mR chart ของ SPC 2nd ครับ
แต่กรณีคุณสามารถแบ่งชิ้นทดสอบออกเป็นชิ้นส่วนย่อย 3 ชิ้น โดยต้องมั่นใจว่า properties ไม่เปลี่ยน คุณก็สามารถใช้ GR&R ประเมินได้ครับ
โดยใช้ชิ้นงานทดสอบ 10 ชิ้น แต่ละชิ้นแบ่งออกเป็น 3 ชิ้นย่อย ก็จะได้ชิ้นย่อย 30 ชิ้น แต่วิธีนี้ไม่แนะนำครับ มันยุ่งยากมากและไม่เหมาะกับชิ้นงานที่ประกอบแล้ว
หรือกรณีเป็นงานตรวจวัดที่ไม่สามารถตรวจซ้ำ 2 หรือซ้ำ 3 ได้ใน Product 1 หน่วย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นของเหลว
เช่น การตรวจค่าความหนืดของ adhesive (กาว),sealant,จาระบี,น้ำมันเครื่อง,น้ำมันเกียร์,สี,สารหล่อเย็น ผลิตภัณฑ์ประเภทนี้เรียกว่า bulk material
(ถ้าอยากรู้ว่ามี อะไรบ้างให้ไปเปิด Apendix F ของ PPAP 4th เรื่อง PPAP for Bulk Material)
ซึ่งการตรวจวัดผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ก็ต้องประเมิน MSA เหมือนกันครับ โดยใช้ x-mR chart ของ SPC 2nd เหมือนงานทดสอบ
X-mR หรือ I-mR (individual and moving range) แผนภูมินี้ใช้ n = 1 หมายถึง แต่ละครั้งในการสุ่มจะใช้ชิ้นงานแค่ 1 ชิ้นหรือ 1 หน่วยเท่านั้น
และจะทำการวัดหรือทดสอบ 1 คร้ัง ไม่มีการวัดซ้ำดังคำอธิบายข้างต้น
จำนวนกลุ่มตัวอย่าง k = 30 กลุ่ม ความถี่ในการสุ่มดูตามความเหมาะสมครับ และต้องประเมินกับกระบวนการที่ Stable
เกณฑ์ประเมินผ่าน/ไม่ผ่าน ใช้วิธีเดียวกับ SPC ครับ คือประเมินทั้ง Primary และ Secondary
แต่ Secondary เน้นประเมินแนวโน้ม (trend) อย่างเดียวครับ
หากท่านใดต้องการตัวอย่าง x-mR วิธีคำนวณและเกณฑ์การประเมิน รบกวนทิ้งเมล์ไว้นะครับ
ผมจะจัดส่งตัวอย่างไปให้ครับ

อังคพล
แวะเวียนเข้ามาศึกษา
ขอบคุณมากครับ ที่สร้างความกระจ่างให้กับผู้ไม่รู้
#5
Posted 03 September 2012 - 05:35 PM
m-salakchong@hotmail.com
ขอบคุณมากครับ
#6
Posted 03 September 2012 - 05:37 PM
m-salakchong@ogura-thai.com
ขอบคุณมากครับ (เมล์ที่ถูกต้อง)
#7
Posted 03 September 2012 - 09:47 PM
#8
Posted 14 September 2012 - 11:05 AM
athiptone@hotmail.com
ขอบคุณครับ
#9
Posted 14 September 2012 - 02:03 PM
ผมส่ง Present MSA Non-Replicate กับตัวอย่างแบบฟอร์ม ให้กับทุกท่านแล้วนะครับ
และต้องขออภัยที่ส่งให้ล่าช้าพอสมควรครับ

อังคพล
#10
Posted 15 September 2012 - 11:15 AM
และต้องขออภัยที่ส่งให้ล่าช้าพอสมควรครับ

อังคพล
ขอด้วยคนได้ไหมครับ
pookit_engineer@hotmail.com
ขอบคุณครับ
#11
Posted 02 November 2012 - 05:43 PM
รบกวนขอตัวอย่าง X-mR chart วิธีการคำนวณและการวิเคราะห์ด้วยนะค่ะ kung.tmk@hotmail.com
ขอบคุณมากค่ะ
#12
Posted 13 November 2012 - 05:03 PM
ขอบคุณล่วงหน้าครับ
#13
Posted 05 August 2013 - 12:02 PM
และขอตัวอย่าง x-mR และ I-MR วิธีคำนวณและเกณฑ์การประเมิ
และต้องขออภัยที่ส่งให้ล่าช้าพอสมควรครับ
รบกวนขอ Present MSA Non-Replicate ด้วยคนนะครับ
ขอบคุณมากๆครับ
ton@tgb.co.th
#14
Posted 09 August 2013 - 05:12 PM
กรณีประเมิน MSA ของงานทดสอบหรืองานตรวจวัด ที่ไม่สามารถตรวจซ้ำได้เนื่องจากตัวอย่างมีการเปลี่ยนสภาพหลังตรวจ/ทดสอบครั้งแรก
ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการทดสอบ Finished Product ซึ่งผ่านการประกอบมาแล้ว เช่น test torque spot nut, welding tensile test ,
hardness test หรืองานทดสอบอื่นๆตามข้อกำหนดของลูกค้า งานลักษณะนี้จะทดสอบแค่ 1 ครั้งต่อหนึ่งตัวอย่าง
การประเมิน MSA จะใช้แผนภูมิควบคุมแบบ X-mR chart ของ SPC 2nd ครับ
แต่กรณีคุณสามารถแบ่งชิ้นทดสอบออกเป็นชิ้นส่วนย่อย 3 ชิ้น โดยต้องมั่นใจว่า properties ไม่เปลี่ยน คุณก็สามารถใช้ GR&R ประเมินได้ครับ
โดยใช้ชิ้นงานทดสอบ 10 ชิ้น แต่ละชิ้นแบ่งออกเป็น 3 ชิ้นย่อย ก็จะได้ชิ้นย่อย 30 ชิ้น แต่วิธีนี้ไม่แนะนำครับ มันยุ่งยากมากและไม่เหมาะกับชิ้นงานที่ประกอบแล้ว
หรือกรณีเป็นงานตรวจวัดที่ไม่สามารถตรวจซ้ำ 2 หรือซ้ำ 3 ได้ใน Product 1 หน่วย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นของเหลว
เช่น การตรวจค่าความหนืดของ adhesive (กาว),sealant,จาระบี,น้ำมันเครื่อง,น้ำมันเกียร์,สี,สารหล่อเย็น ผลิตภัณฑ์ประเภทนี้เรียกว่า bulk material
(ถ้าอยากรู้ว่ามี อะไรบ้างให้ไปเปิด Apendix F ของ PPAP 4th เรื่อง PPAP for Bulk Material)
ซึ่งการตรวจวัดผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ก็ต้องประเมิน MSA เหมือนกันครับ โดยใช้ x-mR chart ของ SPC 2nd เหมือนงานทดสอบ
X-mR หรือ I-mR (individual and moving range) แผนภูมินี้ใช้ n = 1 หมายถึง แต่ละครั้งในการสุ่มจะใช้ชิ้นงานแค่ 1 ชิ้นหรือ 1 หน่วยเท่านั้น
และจะทำการวัดหรือทดสอบ 1 คร้ัง ไม่มีการวัดซ้ำดังคำอธิบายข้างต้น
จำนวนกลุ่มตัวอย่าง k = 30 กลุ่ม ความถี่ในการสุ่มดูตามความเหมาะสมครับ และต้องประเมินกับกระบวนการที่ Stable
เกณฑ์ประเมินผ่าน/ไม่ผ่าน ใช้วิธีเดียวกับ SPC ครับ คือประเมินทั้ง Primary และ Secondary
แต่ Secondary เน้นประเมินแนวโน้ม (trend) อย่างเดียวครับ
หากท่านใดต้องการตัวอย่าง x-mR วิธีคำนวณและเกณฑ์การประเมิน รบกวนทิ้งเมล์ไว้นะครับ
ผมจะจัดส่งตัวอย่างไปให้ครับ
อังคพล
รบกวนขอตัวอย่าง X-MR และ Presentation ของ MSA Non-Replicate ด้วยค่ะ
email kpnsws@gmail.com
#16
Posted 30 August 2013 - 02:46 PM
ขอบคุณคะ ที่ให้ความรู้
#17
Posted 30 June 2016 - 09:43 AM
รบกวนขอด้วยนะครับ
ratthabhumi@gmail.com
ขอบคุณครับ
#18
Posted 28 July 2016 - 09:40 AM
รบกวนขอตัวอย่าง X-mR chart วิธีการคำนวณและการวิเคราะห์ด้วยนะค่ะ
onviga_p@hmt.hitachi-metals.com
ขอบคุณคะ
#19
Posted 09 August 2016 - 11:40 AM
รบกวนด้วยครับ
phuwakorn@hotmail.com
ขอบคุณครับ
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users