Jump to content


ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

Photo

Procedure การประเมินความเสี่ยง ( ฉบับแก้ไขตามข้อแนะนำ)


  • Please log in to reply
113 replies to this topic

#1 rungroj1419

rungroj1419

    Super Member

  • Members
  • PipPip
  • 34 posts

Posted 12 November 2016 - 11:13 PM

จากที่ได้รับข้อแนะนำจาก Admin  , คุณ ISO_Man  และ คุณ CPU

 

ผมได้ทำการแก้ไข Procedure  โดยผมได้แบ่งการประเมิน ความเสี่ยงออกเป็น 5 ประเภท เพื่อให้ครอบคลุมข้อกำหนดและการประยุกต์ใช้ ( พิจารณาจากความเข้าใจของผมเอง) และใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์  ดังนี้

 

-  ความเสี่ยงต่อองค์กร (ธุรกิจ)    SWOT    โดย พิจารณาความเสี่ยงด้านบวกและลบ
 - ความเสี่ยงต่อความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย Risk Assessment ( Impact  x Likelihood ) โดย พิจารณาความเสี่ยงด้านบวกและลบ
 - ความเสี่ยงต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมาย   Risk Assessment ( Impact  x Likelihood ) โดย พิจารณาความเสี่ยงด้านบวกและลบ
 - ความเสี่ยงในกระบวนการ   Risk Assessment ( Impact  x Likelihood ) + Process Approachโดย พิจารณาความเสี่ยงด้านบวกและลบ
 - ความเสี่ยงต่อผลิตภัณฑ์ (คุณภาพ)    FMEA  โดย พิจารณาความเสี่ยงด้านลบเท่านั้น
 
โดยได้เพิ่มการเกณฑ์การประเมินความเสี่ยงทางด้านบวก (โอกาส) ตามข้อแนะนำของ Admin
 
และพิจารณานัยสำคัญ โดยแยกเป็น 
 
ความเสี่ยงด้านลบ (R Risk)  = ผลกระทบ (I Impact)  X  โอกาสที่จะเกิดขึ้น (L Likelihood)
ความเสี่ยงด้านบวก (O Opportunity ) = ผลกระทบ (I: Impact)  X  โอกาสการเปลี่ยนแปลง การคงรักษาไว้   (L Likelihood)

 

และได้ทำตัวอย่างการประเมิน ความเสี่ยงในกระบวนการ  โดยใช้ Process Approach และ ความเสี่ยงต่อ ความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย

 

ซึ่งผมจึงขอความกรุณา ขอคำแนะนำ จากทั้ง  3  ท่านอีกครั้งครับ  จากการแก้ไข ครั้งนี้ด้วยครับ เพื่อเป็นแนวทางการปรับปรุงต่อไป

 

 

สุดท้าย ผมพยายามเขียน Procedure ให้สามารถ ใช้ได้ทั้ง ISO 9001 และ ISO 14001 ใน Version 2015  ผมขอคำแนะนำเพิ่่มเติมในส่วนนี้ด้วยครับ ถึงวิธีการเขียนให้ใช้ได้ทั้ง 2 ระบบ

 

ขอบคุณมากครับ

 

 



#2 thespecialist

thespecialist

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 217 posts
  • Gender:Male

Posted 13 November 2016 - 12:11 AM

ขอบคุณที่มาแบ่งปันเป็นไฟล์ pdf  นะครับ



#3 Food Safety

Food Safety

    จอมยุทธย่อมมีบาดแผล

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 6,589 posts
  • Gender:Male

Posted 13 November 2016 - 07:20 AM

qmlcorp  ไม่มีอะไรมาแบ่งปันคนอื่นบ้างหรือ



#4 iso_man

iso_man

    Super Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 5,134 posts
  • Gender:Male

Posted 13 November 2016 - 09:03 PM

จากที่ได้รับข้อแนะนำจาก Admin  , คุณ ISO_Man  และ คุณ CPU

 

ผมได้ทำการแก้ไข Procedure  โดยผมได้แบ่งการประเมิน ความเสี่ยงออกเป็น 5 ประเภท เพื่อให้ครอบคลุมข้อกำหนดและการประยุกต์ใช้ ( พิจารณาจากความเข้าใจของผมเอง) และใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์  ดังนี้

 

-  ความเสี่ยงต่อองค์กร (ธุรกิจ)    SWOT    โดย พิจารณาความเสี่ยงด้านบวกและลบ
 - ความเสี่ยงต่อความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย Risk Assessment ( Impact  x Likelihood ) โดย พิจารณาความเสี่ยงด้านบวกและลบ
 - ความเสี่ยงต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมาย   Risk Assessment ( Impact  x Likelihood ) โดย พิจารณาความเสี่ยงด้านบวกและลบ
 - ความเสี่ยงในกระบวนการ   Risk Assessment ( Impact  x Likelihood ) + Process Approachโดย พิจารณาความเสี่ยงด้านบวกและลบ
 - ความเสี่ยงต่อผลิตภัณฑ์ (คุณภาพ)    FMEA  โดย พิจารณาความเสี่ยงด้านลบเท่านั้น
 
โดยได้เพิ่มการเกณฑ์การประเมินความเสี่ยงทางด้านบวก (โอกาส) ตามข้อแนะนำของ Admin
 
และพิจารณานัยสำคัญ โดยแยกเป็น 
 
ความเสี่ยงด้านลบ (R Risk)  = ผลกระทบ (I Impact)  X  โอกาสที่จะเกิดขึ้น (L Likelihood)
ความเสี่ยงด้านบวก (O Opportunity ) = ผลกระทบ (I: Impact)  X  โอกาสการเปลี่ยนแปลง การคงรักษาไว้   (L Likelihood)

 

และได้ทำตัวอย่างการประเมิน ความเสี่ยงในกระบวนการ  โดยใช้ Process Approach และ ความเสี่ยงต่อ ความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย

 

ซึ่งผมจึงขอความกรุณา ขอคำแนะนำ จากทั้ง  3  ท่านอีกครั้งครับ  จากการแก้ไข ครั้งนี้ด้วยครับ เพื่อเป็นแนวทางการปรับปรุงต่อไป

 

 

สุดท้าย ผมพยายามเขียน Procedure ให้สามารถ ใช้ได้ทั้ง ISO 9001 และ ISO 14001 ใน Version 2015  ผมขอคำแนะนำเพิ่่มเติมในส่วนนี้ด้วยครับ ถึงวิธีการเขียนให้ใช้ได้ทั้ง 2 ระบบ

 

ขอบคุณมากครับ

ก่อนอื่นต้องขอขอบพระคุณมากนะครับที่มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเอง ผมอยากเห็นท่านสมาชิกทั้งหลายทำแบบนี้ เพื่อให้ตนเองรู้จริงและเข้าใจจริง และแก้ไขตามที่แนะนำ คราวนี้มาดูสิ่งที่คุณ rongroj จัดทำประเมินความเสี่ยงและโอกาส ถือว่าทำได้ละเอียดมากเลยครับในเรื่องของความเสี่ยง แต่บางเรื่องของความเสี่ยงตอนเราค้นหาดีแล้วครับที่หาละเอียด แต่คราวนี้ตอนเอามาใส่เราอาจจะดึงบางความเสี่ยงที่เราเห็นว่าหากหลุดรอดออกไป อาจจะกระทบกับกระบวนการถัด หรือลูกค้า มาจัดการก่อนก็ได้ครับ เพราะการทำความเสี่ยงทุกเรื่องเองอาจทำให้องค์กรสับสน แต่ถามว่าสิ่งที่คุณทำมาผิดไหม ไม่ผิดครับ ฝากพิจารณาเฉย ในส่วนของโอกาสผมแนะนำอยากให้มองแบบนี้นะครับมองว่ามีอะไรบ้างที่สามารถนำโอกาสมาทดแทนความเสี่ยงที่เกิดขึ้น เช่น คนขาดทักษะจากการออกบ่อย มาเป็นการใช้ระบบอัตโนมัติแทน หรือถ้าด้านสิ่งแวดล้อม คือการลดสารเคมีอันตราย ลองพิจารณาดูครับ


การมีความรู้ มาจากการเรียนรู้ และปฏิบัติ หากเรียนอย่างเดียวไม่ปฏิบัีติก็เรียกว่ารุ้ไม่จริง
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451

#5 rungroj1419

rungroj1419

    Super Member

  • Members
  • PipPip
  • 34 posts

Posted 14 November 2016 - 05:57 AM

ขอบคุณ คุณ ISO_Man มากครับ สำหรับข้อแนะนำดีๆ ผมจะนำไปประยุกต์ใช้ และปรับปรุงครับ



#6 Netsai

Netsai

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 64 posts

Posted 14 November 2016 - 04:00 PM

คูณ rungroj ขอบคุณมากสำหรับน้ำใจที่แชร์ข้อมูล  ยอมรับเลยว่าเรื่องนี้ไม่รู้ว่าจะทำอย่างไรจริงๆ กำลังศึกษาอยู่คะ  ได้ของคุณมาช่วยได้มากเลย

อยากเก่งแบบนี้บ้าง คงต้องฝึกอีกนาน ชมเชยสำหรับความพยายามแก้ไขตามที่ admin แนะนำ



#7 jinaka

jinaka

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 19 posts

Posted 17 November 2016 - 03:57 PM

ขอบคุณคะ



#8 nopiso9001

nopiso9001

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 432 posts
  • Gender:Male

Posted 18 November 2016 - 08:53 AM

ขอบคุณมากครับ



#9 iso6

iso6

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 76 posts

Posted 18 November 2016 - 09:30 AM

ขอคำแนะนำค่ะ...

 

การกระเมินความเสี่ยง ที่บริษัทประเมินความเสี่ยง ออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ค่ะ

1. ความเสีี่ยงด้านกลยุทธ์

2. ความเสี่ยงเรื่องการผลิต

3. ความเสี่่ยงด้านการเงิน การรับประกันสินค้าและการเคลมสินค้า

4. ความเสี่ยงเรื่องความสอดคล้องกับกฎหมายและข้อกำหนดของลูกค้า

ทั้ง 4 ความเสี่ยงควบคุลมทั้งหมดของข้อกำหนดใหมค่ะ

 

ขอบคุณ คุณ rungroj ที่แบ่งปันความรู้ค่ะ



#10 ~ PK ~

~ PK ~

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 203 posts
  • Gender:Female
  • Location:Chonburi

Posted 18 November 2016 - 09:38 AM

ขอบคุณมากค่ะ สำหรับข้อมูล



#11 toy

toy

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 193 posts

Posted 18 November 2016 - 12:31 PM

ขอบคุณครับ



#12 iso_man

iso_man

    Super Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 5,134 posts
  • Gender:Male

Posted 18 November 2016 - 12:37 PM

ขอคำแนะนำค่ะ...

 

การกระเมินความเสี่ยง ที่บริษัทประเมินความเสี่ยง ออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ค่ะ

1. ความเสีี่ยงด้านกลยุทธ์

2. ความเสี่ยงเรื่องการผลิต

3. ความเสี่่ยงด้านการเงิน การรับประกันสินค้าและการเคลมสินค้า

4. ความเสี่ยงเรื่องความสอดคล้องกับกฎหมายและข้อกำหนดของลูกค้า

ทั้ง 4 ความเสี่ยงควบคุลมทั้งหมดของข้อกำหนดใหมค่ะ

 

ขอบคุณ คุณ rungroj ที่แบ่งปันความรู้ค่ะ

ความเสี่ยงที่มองตามระบบ9001 หรือ 14001 ละครับ แต่เท่าที่มองยังไม่ครบครับ


การมีความรู้ มาจากการเรียนรู้ และปฏิบัติ หากเรียนอย่างเดียวไม่ปฏิบัีติก็เรียกว่ารุ้ไม่จริง
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451

#13 iso6

iso6

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 76 posts

Posted 18 November 2016 - 02:32 PM

ขอบคุณ ISO_man มากค่ะ

และต้องเพิ่มเพิ่มส่วนใหนบ้างค่ะ



#14 oops memmo

oops memmo

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 8 posts

Posted 18 November 2016 - 03:07 PM

ขอบคุณมากค่ะ



#15 thanate_k

thanate_k

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 20 posts

Posted 18 November 2016 - 04:22 PM

ขอบพระคุณครับ



#16 rungroj1419

rungroj1419

    Super Member

  • Members
  • PipPip
  • 34 posts

Posted 18 November 2016 - 10:29 PM

ขอคำแนะนำค่ะ...

 

การกระเมินความเสี่ยง ที่บริษัทประเมินความเสี่ยง ออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ค่ะ

1. ความเสีี่ยงด้านกลยุทธ์

2. ความเสี่ยงเรื่องการผลิต

3. ความเสี่่ยงด้านการเงิน การรับประกันสินค้าและการเคลมสินค้า

4. ความเสี่ยงเรื่องความสอดคล้องกับกฎหมายและข้อกำหนดของลูกค้า

ทั้ง 4 ความเสี่ยงควบคุลมทั้งหมดของข้อกำหนดใหมค่ะ

 

ขอบคุณ คุณ rungroj ที่แบ่งปันความรู้ค่ะ

ผมขอแชร์ข้อคิดเห็น เผื่อจะเป็นประโยชน์ กับคุณ ISO6 ได้บ้างดังนี้ ครับ

1. ผมเลือกที่จะวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อเป้าหมาย ก่อนความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ครับ เนื่องจาก ตามความคิดเห็นของผม การกำหนดกลยุทธ์คือการกำหนดวิธีการเพื่่่่อให้บรรลุต่อสิ่งที่เราคาดหวังไว้ ซึ่ง 1 เป้าหมายอาจมีการกำหนดหลายวิธีการ หรือ หลายกลยุทธ์  แต่ไม่ว่าจะวิเคราะห์ ความเสี่ยงต่อเป้าหมาย หรือ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ เรากำลังพิจารณาความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับข้อกำหนด 4.1 อยู่ครับ  แต่จะครอบคลุม บริบท ทั้งหมดหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่แต่ละองค์กรจะพิจารณา    ถ้าเทียบกับ Procedure ที่ผมได้เขียน จะอยู่ในประเภทที่  3

2. ความเสี่ยงเรื่องการผลิต   สำหรับ ความคิดเห็นของผม คือ การวิเคราะห์ความเสี่ยงในกระบวนการ (ข้อ 4.4)  ซึ่ง การผลิต เป็น 1 กระบวนการ จากหลายๆ กระบวนในระบบการจัดการ

3.  ความเสี่่ยงด้านการเงิน การรับประกันสินค้าและการเคลมสินค้า  ผมคิดว่า คือ การวิเคราะห์ความเสี่ยงในกระบวนการ เช่นกันครับ ซึ่งผมจะวิเคราะห์ในกระบวนการ การรับข้อร้องเรียน ครับ (ข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง ข้อ 4.4)

4. ความเสี่ยงเรื่องความสอดคล้องกับกฎหมายและข้อกำหนดของลูกค้า  ซึ่งผมคิดว่า เป็นการวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ( ข้อ 4.2)  คือ ความต้องการของลูกค้า และ หน่วยงานราชการ  ซึ่งผมคิดว่า แต่ละองค์กร มีผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย มากกว่า 2 ครับ

 

ซึ่่งจากข้อคิดเห็นข้างต้น   น่าจะยังไม่ครอบคลุมทั้งหมดนะครับ   



#17 iso6

iso6

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 76 posts

Posted 21 November 2016 - 09:52 AM

ผมขอแชร์ข้อคิดเห็น เผื่อจะเป็นประโยชน์ กับคุณ ISO6 ได้บ้างดังนี้ ครับ

1. ผมเลือกที่จะวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อเป้าหมาย ก่อนความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ครับ เนื่องจาก ตามความคิดเห็นของผม การกำหนดกลยุทธ์คือการกำหนดวิธีการเพื่่่่อให้บรรลุต่อสิ่งที่เราคาดหวังไว้ ซึ่ง 1 เป้าหมายอาจมีการกำหนดหลายวิธีการ หรือ หลายกลยุทธ์  แต่ไม่ว่าจะวิเคราะห์ ความเสี่ยงต่อเป้าหมาย หรือ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ เรากำลังพิจารณาความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับข้อกำหนด 4.1 อยู่ครับ  แต่จะครอบคลุม บริบท ทั้งหมดหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่แต่ละองค์กรจะพิจารณา    ถ้าเทียบกับ Procedure ที่ผมได้เขียน จะอยู่ในประเภทที่  3

2. ความเสี่ยงเรื่องการผลิต   สำหรับ ความคิดเห็นของผม คือ การวิเคราะห์ความเสี่ยงในกระบวนการ (ข้อ 4.4)  ซึ่ง การผลิต เป็น 1 กระบวนการ จากหลายๆ กระบวนในระบบการจัดการ

3.  ความเสี่่ยงด้านการเงิน การรับประกันสินค้าและการเคลมสินค้า  ผมคิดว่า คือ การวิเคราะห์ความเสี่ยงในกระบวนการ เช่นกันครับ ซึ่งผมจะวิเคราะห์ในกระบวนการ การรับข้อร้องเรียน ครับ (ข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง ข้อ 4.4)

4. ความเสี่ยงเรื่องความสอดคล้องกับกฎหมายและข้อกำหนดของลูกค้า  ซึ่งผมคิดว่า เป็นการวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อความต้องการของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ( ข้อ 4.2)  คือ ความต้องการของลูกค้า และ หน่วยงานราชการ  ซึ่งผมคิดว่า แต่ละองค์กร มีผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย มากกว่า 2 ครับ

 

ซึ่่งจากข้อคิดเห็นข้างต้น   น่าจะยังไม่ครอบคลุมทั้งหมดนะครับ   

 

ขอบคุณ คุณ Rungroj มากค่ะ

สำหรับของการแชร์ความคิดเห็นซึ่งตอนนี้่ได้เปลี่ยนการประเมินความเสี่ยงแล้วค่ะจากคำแนะนำต่างๆค่ะ

และเริ่มเข้าใจมากขึ้นค่ะ 



#18 KL kookkai

KL kookkai

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 24 posts
  • Gender:Female

Posted 22 November 2016 - 10:39 AM

ขอบคุณมากค่ะสำหรับไฟล์ ขออนุญาต นำไปใช้เป็นแนวทางนะคะ 



#19 preawnara

preawnara

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 8 posts

Posted 22 November 2016 - 04:20 PM

ขอบคุณมากค่ะ



#20 dphongruen

dphongruen

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 13 posts

Posted 23 November 2016 - 10:17 AM

ขอบคุณที่แบ่งปันค่ะ






1 user(s) are reading this topic

0 members, 1 guests, 0 anonymous users