สอบถามค่ะว่า เรื่องแสงสว่าง ไฟฟ้า ระหว่าง ธุรการ กับ จป ใครต้องทำ
ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

สอบถามค่ะว่า เรื่องแสงสว่าง ไฟฟ้า ระหว่าง ธุรการ กับ จป ใครต้องทำ
Started by
pugbung_bee
, May 15 2009 09:00 PM
7 replies to this topic
#1
Posted 15 May 2009 - 09:00 PM
#2
Posted 15 May 2009 - 09:56 PM
ถามกว้างไปหน่อยนะครับ แสงสว่าง ไฟฟ้า ในด้านไหนล่ะ การกำหนดมาตรฐานแสงสว่าง การติดตั้งระบบแสงสว่างให้เป็นไปตามมาตรฐาน การ monitoring ฯลฯ
จึงไม่ค่อยแน่ใจว่าจะตอบตรงคำถามมั้ย?
เอาแบบตอบรวมๆ เป็นความเห็นของ จอมโจรฯ คนเดียวเนี่ย คิดว่า มันพอจะมี เกณฑ์ที่อ้างอิงได้บ้าง โดย กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. ๒๕๔๙ ข้อ ๕ กำหนดให้นายจ้างต้องจัดให้สถานประกอบกิจการมีความเข้มของแสงสว่าง ระดับนั้นระดับนี้
และ กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ข้อ ๘ ก็กำหนดให้ จป. ทำหน้าที่ ตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน หรือดำเนินการร่วมกับบุคคลหรือ หน่วยงานที่ขึ้นทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นผู้รับรองหรือตรวจสอบเอ
กสาร หลักฐานรายงานในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทำงานภายในสถานประกอบกิจการ ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงในวรรรคที่ 2
แต่หากอธิบายแล้ว หัวหน้าทั่นยังยืนยันนอนยันจะให้ จป. ทำ มันก็ต้องทำ และ อย่าแปลกใจที่เห็น จป. ถูกมอบหมายให้ไปทำงานที่เห็นแล้วขัดหูขัดตา เพราะแต่ละองค์กรก็มีการจัดโครงสร้างภายในที่แตกต่างกัน บางองค์กร หน่วยงานความปลอดภัย ก็ถูกห้อยไว้ในฝ่ายบุคคล หรือ ฝ่ายธุรการ ซึ่งเคยเห็นมาเหมือนกัน ที่ จป. ต้องดูแล เรียกเทศบาลมาดูดส้วม ดังนั้นขืนมัวแต่ไปทะเลาะกับ หัวหน้า นอกจากงานจะออกมาไม่ดีแล้ว อนาคตของลูกน้องที่เคยสดใสก็จะดูมืดมน และว้าเหว่ เหมือนไม่เคยรู้สึกมาก่อนนะฮ้า...
จึงไม่ค่อยแน่ใจว่าจะตอบตรงคำถามมั้ย?
เอาแบบตอบรวมๆ เป็นความเห็นของ จอมโจรฯ คนเดียวเนี่ย คิดว่า มันพอจะมี เกณฑ์ที่อ้างอิงได้บ้าง โดย กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. ๒๕๔๙ ข้อ ๕ กำหนดให้นายจ้างต้องจัดให้สถานประกอบกิจการมีความเข้มของแสงสว่าง ระดับนั้นระดับนี้
และ กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ข้อ ๘ ก็กำหนดให้ จป. ทำหน้าที่ ตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน หรือดำเนินการร่วมกับบุคคลหรือ หน่วยงานที่ขึ้นทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นผู้รับรองหรือตรวจสอบเอ
กสาร หลักฐานรายงานในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทำงานภายในสถานประกอบกิจการ ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงในวรรรคที่ 2
แต่หากอธิบายแล้ว หัวหน้าทั่นยังยืนยันนอนยันจะให้ จป. ทำ มันก็ต้องทำ และ อย่าแปลกใจที่เห็น จป. ถูกมอบหมายให้ไปทำงานที่เห็นแล้วขัดหูขัดตา เพราะแต่ละองค์กรก็มีการจัดโครงสร้างภายในที่แตกต่างกัน บางองค์กร หน่วยงานความปลอดภัย ก็ถูกห้อยไว้ในฝ่ายบุคคล หรือ ฝ่ายธุรการ ซึ่งเคยเห็นมาเหมือนกัน ที่ จป. ต้องดูแล เรียกเทศบาลมาดูดส้วม ดังนั้นขืนมัวแต่ไปทะเลาะกับ หัวหน้า นอกจากงานจะออกมาไม่ดีแล้ว อนาคตของลูกน้องที่เคยสดใสก็จะดูมืดมน และว้าเหว่ เหมือนไม่เคยรู้สึกมาก่อนนะฮ้า...
"
#3
Posted 16 May 2009 - 08:31 AM
จริง อย่างพี่จอมโจรฯว่า
จป.ไม่รู้เป็นไง ชอบไปห้อยอยู่ในฝ่ายบุคคล
ไม่ใช้แค่ห้อย เท่านั้นนะครับ ยังทำงานธุรการ ให้กับฝ่ายบุคคลด้วย เป็นเหมือนเลขา ผจก.ฝ่าย ยังเคยเจอเลย สารพัดเลย
ปล.ไม่มีอะไรเพิ่มเติม เพราะ พี่จอมโจรฯ ได้ให้แนวทางไว้ชัดเจน แล้วครับ
จป.ไม่รู้เป็นไง ชอบไปห้อยอยู่ในฝ่ายบุคคล
ไม่ใช้แค่ห้อย เท่านั้นนะครับ ยังทำงานธุรการ ให้กับฝ่ายบุคคลด้วย เป็นเหมือนเลขา ผจก.ฝ่าย ยังเคยเจอเลย สารพัดเลย
ปล.ไม่มีอะไรเพิ่มเติม เพราะ พี่จอมโจรฯ ได้ให้แนวทางไว้ชัดเจน แล้วครับ



#4
Posted 16 May 2009 - 01:58 PM

ขอโทษทีค่ะ ถามไม่ช้ดเจน จริง ๆ
เอาเป็นว่าขอถามใหม่ล่ะกันนะค่ะว่า
การกำหนดมาตรฐาน ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด
และการติดตั้งระบบแสงสว่าง ใครมีหน้าที่ต้องทำ ระหว่าง จป กับธุรการ
ที่นี่ จป ขึ้นตรงต่อผู้บริหารค่ะ และไม่ได้ทำ ISO 14001 ,18001 ทำเฉพาะ ISO 9001 ค่ะ
และอีกหนึ่งคำถามค่ะ
สอบถามว่า ลักษณะทางกายภาพที่ ISO 9001 ข้อกำหนด 6.4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน SCOPE หมายถึงอะไร
รบกวนผู้รุ้ตอบให้ด่วน ค่ะ จป กับธุรการ ตีกันแล้ว
#5
Posted 16 May 2009 - 02:49 PM
ก่อนอื่นต้องบอกว่าความเห็นของเพื่อนๆ ในนี้ เป็นเพียงแนวทางที่ได้พยายาม ตีความตามกฎเกณฑ์ที่มีอยู่ แต่ไม่สามารถจะไปการันตรีการสงบศึก ระหว่าง จป. กับ ธุรการ ณ บริษัทสารขัณฑ์ ได้หรอกครับ เพราะมันเป็นอำนาจบริหารขององค์กร
แต่โดยทั่วไป การจะมอบหมายอำนาจหน้าที่ให้ใคร ก็ควรจะคิดถึง ขอบเขตของงาน ความรู้ และทักษะของบุคคล และอาจรวมถึงทรัพยากรที่มีอยู่
สำหรับมุมมองของผม (คนเดียว) ผู้รับผิดชอบหลักควรจะเป็น maintenance หรือ ธุรการ ถ้าไม่มีทักษะ หรือ กำลังคนที่จะทำได้เอง ก็ไปจ้าง ผู้รับเหมามาทำซะ
แต่หน้าที่ของ จป. ตามกฎหมายนั้นไม่เกี่ยวแน่ๆ แต่จะ assign ให้ทำได้มั้ย... ก็ได้นะ ถ้าบริษัทเข้าตาจนขนาดนั้น เพียงแต่ไม่เหมาะสักเท่าไหร่ เพราะ จป. ไม่ได้ถูกดีไซน์มาให้ทำงานแบบนั้น เว้นแต่ว่า จป.คนนั้น อาจมีประสบการณ์ทางด้าน maintenance มาก่อนล่ะก็พอไหว
สำหรับข้อ 6.4 เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ไม่ครอบคลุมประเด็นเกี่ยวกับ ปัญหาสิ่งแวดล้อม หรือประเด็นด้าน อาชีวอนามัย และความปลอดภัย แม้แต่น้อย
ยกตัวอย่างว่า แบบบ้านๆ ว่า ถ้าบริษัทของคุณ มี process เจียระไนเพชร ซึ่งมาตรฐานแสงสว่างใน process นั้นมันก็ต้องมีแสงสว่างอย่างน้อย 1200 lux อย่างนี้ก็ต้องมีแสงสว่างในระดับนั้น ไม่งั้น เพชร ที่คุณเจียรไนก็จะเป็นเพชรเกรดต่ำ หรือ อาจขายไม่ได้เลยด้วยซ้ำ
หรือ สินค้าสารเคมี มีข้อกำหนดว่า ต้องเก็บไว้ในอุณหภูมิไม่เกิน 20 องศา แต่อากาศเมืองไทยโดยปกติก็ต้องมีอย่างน้อย 30 องศา อย่างนี้ก็ต้องเก็บไว้ในห้องควบคุมอุณหภูมิ จะไปเก็บไว้ในคลังสินค้าตามปกติได้ซะเมื่อไหร่
ที่เมืองไทยมันวุ่นวายอยู่ทุกวันนี้ ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะ คนมีหน้าที่ ไม่ค่อยจะตระหนักถึงหน้าที่ จึงไม่ค่อยอยากจะทำหน้าที่ และคอยแต่จะหาโอกาสผลักภาระนั้นให้กับคนอื่น
พอเป็นไอเดียนะครับ
แต่โดยทั่วไป การจะมอบหมายอำนาจหน้าที่ให้ใคร ก็ควรจะคิดถึง ขอบเขตของงาน ความรู้ และทักษะของบุคคล และอาจรวมถึงทรัพยากรที่มีอยู่
สำหรับมุมมองของผม (คนเดียว) ผู้รับผิดชอบหลักควรจะเป็น maintenance หรือ ธุรการ ถ้าไม่มีทักษะ หรือ กำลังคนที่จะทำได้เอง ก็ไปจ้าง ผู้รับเหมามาทำซะ
แต่หน้าที่ของ จป. ตามกฎหมายนั้นไม่เกี่ยวแน่ๆ แต่จะ assign ให้ทำได้มั้ย... ก็ได้นะ ถ้าบริษัทเข้าตาจนขนาดนั้น เพียงแต่ไม่เหมาะสักเท่าไหร่ เพราะ จป. ไม่ได้ถูกดีไซน์มาให้ทำงานแบบนั้น เว้นแต่ว่า จป.คนนั้น อาจมีประสบการณ์ทางด้าน maintenance มาก่อนล่ะก็พอไหว
สำหรับข้อ 6.4 เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ไม่ครอบคลุมประเด็นเกี่ยวกับ ปัญหาสิ่งแวดล้อม หรือประเด็นด้าน อาชีวอนามัย และความปลอดภัย แม้แต่น้อย
ยกตัวอย่างว่า แบบบ้านๆ ว่า ถ้าบริษัทของคุณ มี process เจียระไนเพชร ซึ่งมาตรฐานแสงสว่างใน process นั้นมันก็ต้องมีแสงสว่างอย่างน้อย 1200 lux อย่างนี้ก็ต้องมีแสงสว่างในระดับนั้น ไม่งั้น เพชร ที่คุณเจียรไนก็จะเป็นเพชรเกรดต่ำ หรือ อาจขายไม่ได้เลยด้วยซ้ำ
หรือ สินค้าสารเคมี มีข้อกำหนดว่า ต้องเก็บไว้ในอุณหภูมิไม่เกิน 20 องศา แต่อากาศเมืองไทยโดยปกติก็ต้องมีอย่างน้อย 30 องศา อย่างนี้ก็ต้องเก็บไว้ในห้องควบคุมอุณหภูมิ จะไปเก็บไว้ในคลังสินค้าตามปกติได้ซะเมื่อไหร่
ที่เมืองไทยมันวุ่นวายอยู่ทุกวันนี้ ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะ คนมีหน้าที่ ไม่ค่อยจะตระหนักถึงหน้าที่ จึงไม่ค่อยอยากจะทำหน้าที่ และคอยแต่จะหาโอกาสผลักภาระนั้นให้กับคนอื่น
พอเป็นไอเดียนะครับ
"
#6
Posted 18 May 2009 - 10:16 PM
QUOTE(Noony @ May 16 2009, 01:58 PM) <{POST_SNAPBACK}>

ขอโทษทีค่ะ ถามไม่ช้ดเจน จริง ๆ
เอาเป็นว่าขอถามใหม่ล่ะกันนะค่ะว่า
การกำหนดมาตรฐาน ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด
และการติดตั้งระบบแสงสว่าง ใครมีหน้าที่ต้องทำ ระหว่าง จป กับธุรการ
ที่นี่ จป ขึ้นตรงต่อผู้บริหารค่ะ และไม่ได้ทำ ISO 14001 ,18001 ทำเฉพาะ ISO 9001 ค่ะ
และอีกหนึ่งคำถามค่ะ
สอบถามว่า ลักษณะทางกายภาพที่ ISO 9001 ข้อกำหนด 6.4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน SCOPE หมายถึงอะไร
รบกวนผู้รุ้ตอบให้ด่วน ค่ะ จป กับธุรการ ตีกันแล้ว
แม๋คำถามนี้ไม่ต้องทำระบบหรอกครับยังไงมันก้อมีกฎหมายบังคับอยู่แล้ว
ตอบคำถามแรกการติดตั้งระบบแสงสว่าง ใครมีหน้าที่ ตอบยากนะขึ้นอยู่กับเจ้านายมอบหน้าที่ให้ใครทำมากกว่า แต่คนวัดว่าแสงที่ได้หรือไม่คือ จป. หรือ ผู้รับตรวจสภาพแวดล้อมในการทำงาน แต่ให้แนะนำนะครับควรใช้บริษัทภายนอกทำงานดีกว่าเพราะมันจะมีเรื่องการคำนวณค่า Lux ของแสงแต่ละพื้นที่การทำงาน ซึ่งอันนี้จป.ต้องรู้ลักษณะงาน
ส่วนข้อสองของมีผู้ตอบไว้ชัดเจนพอสมควร หลักของข้อ 6.4 คือสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดผลเสียหายกับผลิตภัณฑ์ในระหว่างผลิตและผลิตเสร็จแล้ว เช่น โรงงานทำขนมแต่ดันมีแมลงวันเข้ามาใน Lineผลิตเยอะมาก หรือ ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แต่ภายในโรงงานมีความชื้นสูงก้ออาจทำให้เกิดผลเสียกับผลิตภัณฑ์นั้นได้
การมีความรู้ มาจากการเรียนรู้ และปฏิบัติ หากเรียนอย่างเดียวไม่ปฏิบัีติก็เรียกว่ารุ้ไม่จริง
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
#7
Posted 19 May 2009 - 10:26 AM

ของผม จป.เค้าเป็นคนตรวจวัดครับ
แต่จุดใหนที่ไม่ผ่านทางแผนกก็จะทำการแก้ไขให้ผ่าน
อีกความคิดเห็นนะครับ
#8
Posted 18 February 2010 - 09:25 AM
ที่บริษัทเกต จป. เป็นคนดูแล (แต่แอบเม้าส์หน่อยน๊ะ ความจริงเป็นจป. น่าจะทำอะไรๆๆ ได้มากกว่า เช่น การประเมินหาความเสี่ยง หรือแนวโน้ม ที่อาจส่งผลกระทบต่อบุคลากร โดยการสำรวจ หรืออะไรก้อว่ากันไป แต่นี่เล่นทำงานเฉพาะงานบุคคล, คิดเงินเดือน, เก็บถุงมือ, แจกถุงมือ และอื่นๆ อีก บลา บลา บลา แต่ก้อเนอะ ไม่เกี่ยวกับเราซักหน่อย เหอะๆๆๆ แต่ถ้าไฟคอมมาดุดเรามันอีกเรื่องนึงเนอะ 555+)
ดูแลอยากไร? ดูแลเฉยๆๆ เค้าบอกให้ดูแล ก้อดูแลอย่างงั้น ไม่เห็นทำไรเลย 555+
ตามข้อกำหนด ISO9001:2008 บอกว่าให้พิจารณาเรื่องแสงสว่าง เสียง ความชื้น อากาศ ในการทำงานด้วย อืมๆๆๆ เราก้อพร้อมจะปฏิบัติตาม ไอ้เราก้อหาข้อมูลป้อนให้ตลอดดดด เอาแต่ละ std. มาแยกๆๆ กันเช่นประกาศกระทรวงมหาดไทย, กรมประมง, กรมปศุสัตว์, สิ่งแวดล้อม, ประเทศปลายทาง japan EU US และเอามากำหนดเป็น STD ของเราเอง ต้องทำให้ถึงขนาดนี้ นี่ยังไม่รู้เลยว่าพอเอาเข้าประชุม จะไปเจออะไรบ้าง ปั่นซะละเอียดขนาดนี้ ไม่รู้ว่าจะต้องทำอะไรให้อีก เนอะ วัยรุ่นเซงงงงง
ดูแลอยากไร? ดูแลเฉยๆๆ เค้าบอกให้ดูแล ก้อดูแลอย่างงั้น ไม่เห็นทำไรเลย 555+
ตามข้อกำหนด ISO9001:2008 บอกว่าให้พิจารณาเรื่องแสงสว่าง เสียง ความชื้น อากาศ ในการทำงานด้วย อืมๆๆๆ เราก้อพร้อมจะปฏิบัติตาม ไอ้เราก้อหาข้อมูลป้อนให้ตลอดดดด เอาแต่ละ std. มาแยกๆๆ กันเช่นประกาศกระทรวงมหาดไทย, กรมประมง, กรมปศุสัตว์, สิ่งแวดล้อม, ประเทศปลายทาง japan EU US และเอามากำหนดเป็น STD ของเราเอง ต้องทำให้ถึงขนาดนี้ นี่ยังไม่รู้เลยว่าพอเอาเข้าประชุม จะไปเจออะไรบ้าง ปั่นซะละเอียดขนาดนี้ ไม่รู้ว่าจะต้องทำอะไรให้อีก เนอะ วัยรุ่นเซงงงงง
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users