Jump to content


ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

Photo

ความเสี่ยง

ความ เสี่ยง

  • Please log in to reply
10 replies to this topic

#1 วีวัน ไตปลา

วีวัน ไตปลา

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 9 posts

Posted 15 September 2017 - 01:16 PM

รบกวนสอบถามนะค่ะ Procedure ของแต่ละแผนกต้องเขียนความเสี่ยงลงไปใน Procedure ด้วยไหมค่ะ

เพราะมีแบบประเมินความเสี่ยงของแต่ละแผนกอยู่แล้ว ยังงงๆอยู่ค่ะ เพราะกำลังจะโดน Audit

ISO 9001:2015 

 

 

 

 

ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ

:)  :)  :)  :)  :)  :) 



#2 monrudeenimit

monrudeenimit

    Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPip
  • 546 posts

Posted 15 September 2017 - 02:54 PM

ไม่ต้องหรอก กำหนดให้เยอะแยะยุ่งยากทำไม อ้างอิงไว้ในแบบฟอร์มก็พอแล้วจ้า

#3 Yuiniccy21

Yuiniccy21

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 15 posts

Posted 15 September 2017 - 03:06 PM

ไม่จำเป็นค่า เขียนไว้ใน Risk Procedure เล่มเดียวจบค่ะ :)



#4 Food Safety

Food Safety

    จอมยุทธย่อมมีบาดแผล

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 6,589 posts
  • Gender:Male

Posted 15 September 2017 - 08:07 PM

อย่าไปเพิ่มความยุ่งยากในการทำงานหรือในเอกสารให้มากขึ้นครับ



#5 CPU

CPU

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 359 posts

Posted 16 September 2017 - 09:18 PM

สำหรับในการประเมินความเสี่ยงใน ISO9001:2015 ตามข้อกำหนด 6.1.1

กำหนดให้ประเมินความเสี่ยงและโอกาส ในข้อกำหนด 4.1, 4.2, แล้วเกี่ยวกับ

เรื่อง CAR ตามข้อกำหนด 10.2 ครับ

- QP การประเมินความเสี่ยง จะเขียนไว้ที่ส่วนกลาง (QMR) โดยให้ฝ่ายอื่นๆ

 นำไปใช้งาน

 - จากนั้นเราก็ทำการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับบริบทของ

องค์กร ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นภายใน, ภายนอก (4.1)

 - ประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (4.2)

 - ประเมินความเสี่ยงและโอกาสที่เกี่ยวกับ CAR (10.2) ในการปรับปรุงแผน ครับ

 

เท่านี้เอง ครับ



#6 วีวัน ไตปลา

วีวัน ไตปลา

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 9 posts

Posted 20 September 2017 - 04:46 PM

ขอบคุณทุกข้อเสนอแนะค่ะ

 

 

 

 

ขอบคุณมากค่ะ

:)  :)  :)  :)



#7 popeye9889

popeye9889

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 122 posts

Posted 21 November 2018 - 02:20 PM

ขออนุญาต สอบถามเพิ่มเติม เกี่ยวกับการวิเคราะห์ความเสี่ยงและโอกาสค่ะ 

 

เกณฑ์ที่ใช้คือ ความรุนแรง , ความถี่ของการเกิด,การ Detection 

 

ในส่วนความถี่ของการเกิดปัญหานั้น 

 

3 = เกิด มากกว่า 10 ครั้ง/ปี 

2 = เกิด 1-10 ครั้ง/ปี

1 = ไม่เคยเกิดปัญหานี้เลย 

 

คำถามคือ ... ต้องมีการแนบหลักฐานของการเกิดปัญหามั๊ยคะ เช่น คุณให้คะแนน 2 เพราะ ที่ผ่านมาในรอบปี มีปัญหาเกิดขึ้น 7 ครั้ง จำเป็นต้องมีหลักฐานเสมอหรือไม่คะ?

 

สำหรับปัญหาที่ใหญ่ๆ เช่น พวก ลูกค้าคอมเพลนหรือเคลม ก็มีบันทึกทุกครั้ง 

 

แต่ปัญหาเช่น เอกสารควบคุมที่แจกจ่ายไปยังแผนกที่เกี่ยวข้องสูญหาย,หรือเอกสารต้นฉบับสูญหาย --> ซึ่งอันนี้ ไม่ได้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรชัดเจน    เหล่านี้เป็นต้น 



#8 จอมโจรจอมใจ

จอมโจรจอมใจ

    Super Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 1,276 posts
  • Gender:Male

Posted 21 November 2018 - 03:26 PM

ส่วนตัวคิดว่า procedure ควรเชื่อมโยงกับความเสี่ยง แต่ก็ควรเลือกวิธีที่ทำแล้วมีประโยชน์ และไม่เป็นภาระ

 

ตาม template ของการเขียน procedure แต่ละเรื่อง  ก็มักจะมีหัวข้อ  "วัตถุประสงค์"

ก็ละเลงไปได้เลยว่า  บริษัทฯ ทำ procedure เรื่อง....  ทำขึ้นมาเพื่อให้มั่นใจว่า " 1....2....3.."

ซึ่งวัตถุประสงค์ที่กำหนดขึ้นนั้น จะเป็นกรอบของเนื้อหาใน procedure

procedure ที่เกิดขึ้นก็จะอยู่ในกรอบ   ไม่เลอะเทอะไปด้วย  เรื่องราวอื่นๆ ที่ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

 

 

รบกวนสอบถามนะค่ะ Procedure ของแต่ละแผนกต้องเขียนความเสี่ยงลงไปใน Procedure ด้วยไหมค่ะ

เพราะมีแบบประเมินความเสี่ยงของแต่ละแผนกอยู่แล้ว ยังงงๆอยู่ค่ะ เพราะกำลังจะโดน Audit

ISO 9001:2015 

 

 

 

 

ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ

:)  :)  :)  :)  :)  :) 


"

#9 aomiez

aomiez

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 67 posts

Posted 28 November 2018 - 04:51 PM

ขออนุญาต สอบถามเพิ่มเติม เกี่ยวกับการวิเคราะห์ความเสี่ยงและโอกาสค่ะ 

 

เกณฑ์ที่ใช้คือ ความรุนแรง , ความถี่ของการเกิด,การ Detection 

 

ในส่วนความถี่ของการเกิดปัญหานั้น 

 

3 = เกิด มากกว่า 10 ครั้ง/ปี 

2 = เกิด 1-10 ครั้ง/ปี

1 = ไม่เคยเกิดปัญหานี้เลย 

 

คำถามคือ ... ต้องมีการแนบหลักฐานของการเกิดปัญหามั๊ยคะ เช่น คุณให้คะแนน 2 เพราะ ที่ผ่านมาในรอบปี มีปัญหาเกิดขึ้น 7 ครั้ง จำเป็นต้องมีหลักฐานเสมอหรือไม่คะ?

 

สำหรับปัญหาที่ใหญ่ๆ เช่น พวก ลูกค้าคอมเพลนหรือเคลม ก็มีบันทึกทุกครั้ง 

 

แต่ปัญหาเช่น เอกสารควบคุมที่แจกจ่ายไปยังแผนกที่เกี่ยวข้องสูญหาย,หรือเอกสารต้นฉบับสูญหาย --> ซึ่งอันนี้ ไม่ได้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรชัดเจน    เหล่านี้เป็นต้น 

 

 

 

:)  :)  :)

 

ขอบคุณค่ะ



#10 aomiez

aomiez

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 67 posts

Posted 28 November 2018 - 04:52 PM

ส่วนตัวคิดว่า procedure ควรเชื่อมโยงกับความเสี่ยง แต่ก็ควรเลือกวิธีที่ทำแล้วมีประโยชน์ และไม่เป็นภาระ

 

ตาม template ของการเขียน procedure แต่ละเรื่อง  ก็มักจะมีหัวข้อ  "วัตถุประสงค์"

ก็ละเลงไปได้เลยว่า  บริษัทฯ ทำ procedure เรื่อง....  ทำขึ้นมาเพื่อให้มั่นใจว่า " 1....2....3.."

ซึ่งวัตถุประสงค์ที่กำหนดขึ้นนั้น จะเป็นกรอบของเนื้อหาใน procedure

procedure ที่เกิดขึ้นก็จะอยู่ในกรอบ   ไม่เลอะเทอะไปด้วย  เรื่องราวอื่นๆ ที่ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

 

 

ขอบคุณค่ะ



#11 datadocument

datadocument

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 2 posts

Posted 28 April 2020 - 04:01 PM

มีตัวอย่างเอกสารเรื่องประเมินความเสี่ยงไหมค่ะ เพราะตอนนี้เริ่มทำค่ะ 







Also tagged with one or more of these keywords: ความ, เสี่ยง

0 user(s) are reading this topic

0 members, 0 guests, 0 anonymous users