ปีนี้ เริ่มวัดค่าเกาส์แม่เหล็กเป็นปีแรก ที่สำคัญไม่มีความรู้เรื่องแม่เหล็กเลยคะ พอได้รับรายงานค่าเกาส์ ซื่งมีแต่ ค่าเกาส์ ตามจุดต่างๆ ก็เลยอยากทราบว่า
1. รายงานการวัดค่าเกาส์ของแม่เหล็กต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง
2. แล้วจะระบุค่าต่างๆในแผนการทวนสอบค่าว่าอย่างไร ขอตัวอย่างด้วยนะค่ะ
3. เกณฑ์ในการตัดสิน ว่า ผ่านหรือไม่ผ่าน ใช้หลักเกณฑ์ อย่างไร
ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

การวัดค่าเกาส์แม่เหล็ก
Started by
Crystal
, Sep 06 2011 03:20 PM
3 replies to this topic
#1
Posted 06 September 2011 - 03:20 PM
#2
Posted 06 September 2011 - 08:41 PM
QUOTE(Crystal @ Sep 6 2011, 03:20 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ปีนี้ เริ่มวัดค่าเกาส์แม่เหล็กเป็นปีแรก ที่สำคัญไม่มีความรู้เรื่องแม่เหล็กเลยคะ พอได้รับรายงานค่าเกาส์ ซื่งมีแต่ ค่าเกาส์ ตามจุดต่างๆ ก็เลยอยากทราบว่า
1. รายงานการวัดค่าเกาส์ของแม่เหล็กต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง
2. แล้วจะระบุค่าต่างๆในแผนการทวนสอบค่าว่าอย่างไร ขอตัวอย่างด้วยนะค่ะ
3. เกณฑ์ในการตัดสิน ว่า ผ่านหรือไม่ผ่าน ใช้หลักเกณฑ์ อย่างไร
1. รายงานการวัดค่าเกาส์ของแม่เหล็กต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง
2. แล้วจะระบุค่าต่างๆในแผนการทวนสอบค่าว่าอย่างไร ขอตัวอย่างด้วยนะค่ะ
3. เกณฑ์ในการตัดสิน ว่า ผ่านหรือไม่ผ่าน ใช้หลักเกณฑ์ อย่างไร
ตอบ ผมเข้าใจว่าคุณแก้วใช้แม่เหล็กถาวรนะครับ เลยขอตอบว่า
1.รายงานค่าเกาส์ ก็ประกอบไปด้วยค่าเกาส์ที่วัดได้ตามจุดต่างๆ และค่าเฉลี่ยของความเข้มสนามแม่เหล็กชิ้นนั้นๆ
2.ในการทวนสอบ จะดูว่าการใช้งานแม่เหล็กชิ้นนั้น ได้ถูกติดตั้งในตำแหน่งที่เราออกแบบไว้แล้วหรือเปล่าในแต่ละวันที่ใช้งาน
และทวนสอบในแต่ละวันโดยใช้แท่งเหล็กตรวจสอบว่ามีแรงดูดหรือไม่ แต่ไม่ต้องวัดแรงหรอกครับ
3.เกณฑ์การตัดสินผ่าน ไม่ผ่าน เราสามารถกำหนดเองได้จากค่าเกาส์ที่ลดลงไปอย่างมีนัยสำคัญของแม่เหล็กนั้น
ประกอบกับพิจารณาจากความสามารถในการดูดจับ FB ชนิด Ferrous ประกอบด้วยครับ
อีกตัวอย่างในการทดสอบ อาจทำได้โดยการทำ Test piece เช่นลูกปืนขนาด 1.5-2.0 mm จำนวนสัก 10-20 ชิ้น
แล้วใส่เข้าไปใน Raw Material หรือตัวอย่างงานคล้ายการทำงานปกติ แล้วตรวจสอบดูว่า แม่เหล็กนี้สามารถดูดจับ Test piece
ลูกปืนนี้ได้ครบจำนวนชิ้นหรือไม่ เป็นต้นครับ
#3
Posted 08 September 2011 - 09:43 PM
QUOTE(Food Safety @ Sep 6 2011, 08:41 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ตอบ ผมเข้าใจว่าคุณแก้วใช้แม่เหล็กถาวรนะครับ เลยขอตอบว่า
1.รายงานค่าเกาส์ ก็ประกอบไปด้วยค่าเกาส์ที่วัดได้ตามจุดต่างๆ และค่าเฉลี่ยของความเข้มสนามแม่เหล็กชิ้นนั้นๆ
2.ในการทวนสอบ จะดูว่าการใช้งานแม่เหล็กชิ้นนั้น ได้ถูกติดตั้งในตำแหน่งที่เราออกแบบไว้แล้วหรือเปล่าในแต่ละวันที่ใช้งาน
และทวนสอบในแต่ละวันโดยใช้แท่งเหล็กตรวจสอบว่ามีแรงดูดหรือไม่ แต่ไม่ต้องวัดแรงหรอกครับ
3.เกณฑ์การตัดสินผ่าน ไม่ผ่าน เราสามารถกำหนดเองได้จากค่าเกาส์ที่ลดลงไปอย่างมีนัยสำคัญของแม่เหล็กนั้น
ประกอบกับพิจารณาจากความสามารถในการดูดจับ FB ชนิด Ferrous ประกอบด้วยครับ
อีกตัวอย่างในการทดสอบ อาจทำได้โดยการทำ Test piece เช่นลูกปืนขนาด 1.5-2.0 mm จำนวนสัก 10-20 ชิ้น
แล้วใส่เข้าไปใน Raw Material หรือตัวอย่างงานคล้ายการทำงานปกติ แล้วตรวจสอบดูว่า แม่เหล็กนี้สามารถดูดจับ Test piece
ลูกปืนนี้ได้ครบจำนวนชิ้นหรือไม่ เป็นต้นครับ
1.รายงานค่าเกาส์ ก็ประกอบไปด้วยค่าเกาส์ที่วัดได้ตามจุดต่างๆ และค่าเฉลี่ยของความเข้มสนามแม่เหล็กชิ้นนั้นๆ
2.ในการทวนสอบ จะดูว่าการใช้งานแม่เหล็กชิ้นนั้น ได้ถูกติดตั้งในตำแหน่งที่เราออกแบบไว้แล้วหรือเปล่าในแต่ละวันที่ใช้งาน
และทวนสอบในแต่ละวันโดยใช้แท่งเหล็กตรวจสอบว่ามีแรงดูดหรือไม่ แต่ไม่ต้องวัดแรงหรอกครับ
3.เกณฑ์การตัดสินผ่าน ไม่ผ่าน เราสามารถกำหนดเองได้จากค่าเกาส์ที่ลดลงไปอย่างมีนัยสำคัญของแม่เหล็กนั้น
ประกอบกับพิจารณาจากความสามารถในการดูดจับ FB ชนิด Ferrous ประกอบด้วยครับ
อีกตัวอย่างในการทดสอบ อาจทำได้โดยการทำ Test piece เช่นลูกปืนขนาด 1.5-2.0 mm จำนวนสัก 10-20 ชิ้น
แล้วใส่เข้าไปใน Raw Material หรือตัวอย่างงานคล้ายการทำงานปกติ แล้วตรวจสอบดูว่า แม่เหล็กนี้สามารถดูดจับ Test piece
ลูกปืนนี้ได้ครบจำนวนชิ้นหรือไม่ เป็นต้นครับ
กด Like ให้คับพี่ชาย ชอบช่วยเหลือผู้อื่นที่เดือดร้อนได้เสมอเลย





#4
Posted 13 September 2011 - 10:50 AM
QUOTE(Food Safety @ Sep 6 2011, 08:41 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ตอบ ผมเข้าใจว่าคุณแก้วใช้แม่เหล็กถาวรนะครับ เลยขอตอบว่า
1.รายงานค่าเกาส์ ก็ประกอบไปด้วยค่าเกาส์ที่วัดได้ตามจุดต่างๆ และค่าเฉลี่ยของความเข้มสนามแม่เหล็กชิ้นนั้นๆ
2.ในการทวนสอบ จะดูว่าการใช้งานแม่เหล็กชิ้นนั้น ได้ถูกติดตั้งในตำแหน่งที่เราออกแบบไว้แล้วหรือเปล่าในแต่ละวันที่ใช้งาน
และทวนสอบในแต่ละวันโดยใช้แท่งเหล็กตรวจสอบว่ามีแรงดูดหรือไม่ แต่ไม่ต้องวัดแรงหรอกครับ
3.เกณฑ์การตัดสินผ่าน ไม่ผ่าน เราสามารถกำหนดเองได้จากค่าเกาส์ที่ลดลงไปอย่างมีนัยสำคัญของแม่เหล็กนั้น
ประกอบกับพิจารณาจากความสามารถในการดูดจับ FB ชนิด Ferrous ประกอบด้วยครับ
อีกตัวอย่างในการทดสอบ อาจทำได้โดยการทำ Test piece เช่นลูกปืนขนาด 1.5-2.0 mm จำนวนสัก 10-20 ชิ้น
แล้วใส่เข้าไปใน Raw Material หรือตัวอย่างงานคล้ายการทำงานปกติ แล้วตรวจสอบดูว่า แม่เหล็กนี้สามารถดูดจับ Test piece
ลูกปืนนี้ได้ครบจำนวนชิ้นหรือไม่ เป็นต้นครับ
1.รายงานค่าเกาส์ ก็ประกอบไปด้วยค่าเกาส์ที่วัดได้ตามจุดต่างๆ และค่าเฉลี่ยของความเข้มสนามแม่เหล็กชิ้นนั้นๆ
2.ในการทวนสอบ จะดูว่าการใช้งานแม่เหล็กชิ้นนั้น ได้ถูกติดตั้งในตำแหน่งที่เราออกแบบไว้แล้วหรือเปล่าในแต่ละวันที่ใช้งาน
และทวนสอบในแต่ละวันโดยใช้แท่งเหล็กตรวจสอบว่ามีแรงดูดหรือไม่ แต่ไม่ต้องวัดแรงหรอกครับ
3.เกณฑ์การตัดสินผ่าน ไม่ผ่าน เราสามารถกำหนดเองได้จากค่าเกาส์ที่ลดลงไปอย่างมีนัยสำคัญของแม่เหล็กนั้น
ประกอบกับพิจารณาจากความสามารถในการดูดจับ FB ชนิด Ferrous ประกอบด้วยครับ
อีกตัวอย่างในการทดสอบ อาจทำได้โดยการทำ Test piece เช่นลูกปืนขนาด 1.5-2.0 mm จำนวนสัก 10-20 ชิ้น
แล้วใส่เข้าไปใน Raw Material หรือตัวอย่างงานคล้ายการทำงานปกติ แล้วตรวจสอบดูว่า แม่เหล็กนี้สามารถดูดจับ Test piece
ลูกปืนนี้ได้ครบจำนวนชิ้นหรือไม่ เป็นต้นครับ
พี่นู๋นี่สุดยอดจิงๆๆเลย รู้ทุกเรื่อง
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users