Jump to content


ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

Photo

ต้องการยืนยันว่าชิ้นงาน 5000 ชิ้น มีค่าการวัดที่แม่นยำ ใช้หลักการอะไร MSA ได้ไหม

MSA QA measurement

  • Please log in to reply
4 replies to this topic

#1 waranyu

waranyu

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 10 posts

Posted 06 December 2022 - 09:53 PM

สอบถามผู้รู้หน่อยค่ะ 

 

เราผลิตชิ้นงาน 5000 ชิ้น และทำการวัด diameter ของชิ้นงานโดยสุ่มมาจำนวนหนึ่งเพื่อใช้เป็นตัวแทนของจำนวนทั้งหมด

เพื่อต้องการยืนยันว่า ค่า diameter ของชิ้นงานที่สุ่มมานั้นอยู่ในมาตรฐาน

 

แต่ลูกค้าถามว่า ใช้มาตรฐานอะไรในการยืนยันผลการวัด เพราะการวัดมีค่า error ทั้งจากเครื่องมือ และคน เป็นต้น

เราจึงอยากสอบถามว่าควรแสดงให้ลูกค้าเห็นยังไงดีว่าตัวเลขที่เราได้จากการวัดของเราแม่นยำ หรือเชื่อถือได้

 

เราไม่เคยทำ MSA มาก่อน แค่ search ดูจากอากู๋แล้วเห็นว่ามันใกล้เคียง มันพอจะเอามาใช้กับกรณีนี้ได้ไหมคะ 

และเราควรวัดตัวอย่างทั้ง 5000 ชิ้น เพื่อมาทำ MSA เลยไหม หรือแค่สุ่มมาบางส่วน จำนวนของการสุ่มอ้างอิงจากอะไร

ขั้นตอนทำ MSA ต้องทำอย่างไร รบกวนแนะนำทีค่ะ 

 

หากมีไฟล์เอกสารตัวอย่างให้ดูจะขอบคุณมากๆ ค่ะ 



#2 IATF MAN

IATF MAN

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 325 posts

Posted 07 December 2022 - 01:48 PM

สอบถามผู้รู้หน่อยค่ะ 

 

เราผลิตชิ้นงาน 5000 ชิ้น และทำการวัด diameter ของชิ้นงานโดยสุ่มมาจำนวนหนึ่งเพื่อใช้เป็นตัวแทนของจำนวนทั้งหมด

เพื่อต้องการยืนยันว่า ค่า diameter ของชิ้นงานที่สุ่มมานั้นอยู่ในมาตรฐาน

 

แต่ลูกค้าถามว่า ใช้มาตรฐานอะไรในการยืนยันผลการวัด เพราะการวัดมีค่า error ทั้งจากเครื่องมือ และคน เป็นต้น

เราจึงอยากสอบถามว่าควรแสดงให้ลูกค้าเห็นยังไงดีว่าตัวเลขที่เราได้จากการวัดของเราแม่นยำ หรือเชื่อถือได้

 

เราไม่เคยทำ MSA มาก่อน แค่ search ดูจากอากู๋แล้วเห็นว่ามันใกล้เคียง มันพอจะเอามาใช้กับกรณีนี้ได้ไหมคะ 

และเราควรวัดตัวอย่างทั้ง 5000 ชิ้น เพื่อมาทำ MSA เลยไหม หรือแค่สุ่มมาบางส่วน จำนวนของการสุ่มอ้างอิงจากอะไร

ขั้นตอนทำ MSA ต้องทำอย่างไร รบกวนแนะนำทีค่ะ 

 

หากมีไฟล์เอกสารตัวอย่างให้ดูจะขอบคุณมากๆ ค่ะ 

   การผลิตงาน จะให้ทราบอย่างไรว่างาน 5000 มีค่าเท่ากัน โดยทั่วไปใช้ หลักสถิติเข้ามาช่วย 

   1. Sampling plan การสุ่มตรวจชิ้นงาน ควรจะตรวจ ตัวแรก และ  ตัวสุดท้ายLot เสมอ ตามระบบ IATF  ส่วน 9001 ก็ไปประยุกต์ได้ 

       แต่ Lot ผลิต 5000  วัดตัวแรก แล้วมาตรวจตัวสุดท้าย ก็อาจจะมีความเสี่ยง หากตัวสุดท้าย NG งานตัวก่อนหน้า จะ NG หรือไม่ ? 

       จึงจำเป็นต้องเพิ่มจำนวนในการสุ่ม เช่น ตัวแรก  ตัวที่ 1000  2000 3000 4000 ตัวสุดท้าย  ค่าวัด ทั้งหมด OK ก็ถือว่างาน Lot ok ก็น่าจะเป็นเช่นนั้น แต่อาจจะยังไม่พอมุมมองลูกค้า 

       จึงควรเอา Tool อีกตัวมาใช้ คือ

   2 SPC  โดยการหาค่า Cp Cpk จากการข้อมูลวัดจากข้อ 1 มาทำการคำนวณ หาดัชนีความสามารถกระบวนการอีกที และ Monitor ด้วย Control chart เช่น X bar R Chart ถ้าค่าออกมา เสถียรตามเกณฑ์ ก็มั่นใจอีกระดับหนึ่งว่า งาน Lotนี้ daimeter ok 

   3 ส่วนการทำ MSA เป็นการวิเคราะห์การวัด เพื่อยืนยันว่าการวัด DIA มีความเที่ยงตรง และความแม่นยำ จากการวัดด้วยคน และเครื่องมือวัด นั้นหรือไม่

      โดยการทำ GR&R เพื่อใช้ในการตรวจวัดงาน ทั้ง ข้อ 1 และ 2 

 

     pongsitkam67@gmail.com     



#3 tanaratdew

tanaratdew

    Super Member

  • Members
  • PipPip
  • 30 posts

Posted 08 December 2022 - 12:39 PM

ราผลิตชิ้นงาน 5000 ชิ้น และทำการวัด diameter ของชิ้นงานโดยสุ่มมาจำนวนหนึ่งเพื่อใช้เป็นตัวแทนของจำนวนทั้งหมด

เพื่อต้องการยืนยันว่า ค่า diameter ของชิ้นงานที่สุ่มมานั้นอยู่ในมาตรฐาน

 

แต่ลูกค้าถามว่า ใช้มาตรฐานอะไรในการยืนยันผลการวัด เพราะการวัดมีค่า error ทั้งจากเครื่องมือ และคน เป็นต้น

เราจึงอยากสอบถามว่าควรแสดงให้ลูกค้าเห็นยังไงดีว่าตัวเลขที่เราได้จากการวัดของเราแม่นยำ หรือเชื่อถือได้

 

ตอบคำถามนี้ครับ 1.คงต้องยืนยันว่าหลักในการ Sampling อ้างอิงมาจากไหน มั่นใจได้อย่างไรว่าเพียงพอ โดยอาจจะอ้างอิงมาจากมาตรฐาน เช่น AQL MIL-STD-105-E

2.ในกระบวนการมีการนำ SPC มาควบคุมความผันแปรของกระบวนการ และค่า PPk ใน Lot ผลิต 5000ชิ้นนี้ (กรณีLotเดียวกัน,ถ้าหลายLot เป็น Cpk) มากกว่า 1.67

3.ถ้าในมุม MSA อาจยืนยันว่า จากค่า GRR ที่ออกมาจากการทดสอบพนักงาน พบว่าระบบของการวัดเหมาะสมค่า GRR อยู่ในมาตรฐานรวมถึง บุคลากรที่วัดงานนี้และเครื่องมือวัดที่ใช้วัดงานนี้เป็นประเภทเดียวกับที่ทดสอบ GRR ทั้งหมด

4.เครื่องมือวัดทั้งหมดมีใบ Cert ยืนยันโดยที่ใบ Cert ที่การ Approved ภายในแล้วว่าอยู่ในค่า Tolerance ของ Acceptance Criteria ของเครื่องมือวัดที่กำหนด โดยอ้างอิง Acceptance criteria มาจาก Std.จาก JIS......, ISO.......... ที่เราใช้เป็นมาตรฐานอ้างอิง

5.แสดงผลการ OJT ของพนักงานว่า พนักงานที่ปฏิบัติการตรวจวัดทั้ง Dimension และ Appearance ของชิ้นงานนี้มีความสามารถเพียงพอ

 

เราไม่เคยทำ MSA มาก่อน แค่ search ดูจากอากู๋แล้วเห็นว่ามันใกล้เคียง มันพอจะเอามาใช้กับกรณีนี้ได้ไหมคะ 

และเราควรวัดตัวอย่างทั้ง 5000 ชิ้น เพื่อมาทำ MSA เลยไหม หรือแค่สุ่มมาบางส่วน จำนวนของการสุ่มอ้างอิงจากอะไร

ขั้นตอนทำ MSA ต้องทำอย่างไร รบกวนแนะนำทีค่ะ 

 

ตอบคำถามนี้ครับ MSA คงไม่สามารถใช้ยืนยันผลการวัดได้ครับ เป็นเพียงการบ่งบอกว่า ระบบในการวัดของเรามีคุณภาพโดยมีตัวแปรกจาก เครื่องมือวัด และผู้วัด (GRR) หรืออาจเป็น การวัดเมื่อระยะเวลาเปลี่ยน หรือการวัดเมื่อเครื่องมือเปลี่ยน (Linearility, Stability) และรวมถึงในมุมของ Appearance ครับ

 

หากมีไฟล์เอกสารตัวอย่างให้ดูจะขอบคุณมากๆ ค่ะ ะเหมาะสมกว่าครับ ทั้งนี้ทั้งนั้น



#4 tanaratdew

tanaratdew

    Super Member

  • Members
  • PipPip
  • 30 posts

Posted 14 December 2022 - 08:29 AM

 

ราผลิตชิ้นงาน 5000 ชิ้น และทำการวัด diameter ของชิ้นงานโดยสุ่มมาจำนวนหนึ่งเพื่อใช้เป็นตัวแทนของจำนวนทั้งหมด

เพื่อต้องการยืนยันว่า ค่า diameter ของชิ้นงานที่สุ่มมานั้นอยู่ในมาตรฐาน

 

แต่ลูกค้าถามว่า ใช้มาตรฐานอะไรในการยืนยันผลการวัด เพราะการวัดมีค่า error ทั้งจากเครื่องมือ และคน เป็นต้น

เราจึงอยากสอบถามว่าควรแสดงให้ลูกค้าเห็นยังไงดีว่าตัวเลขที่เราได้จากการวัดของเราแม่นยำ หรือเชื่อถือได้

 

ตอบคำถามนี้ครับ 1.คงต้องยืนยันว่าหลักในการ Sampling อ้างอิงมาจากไหน มั่นใจได้อย่างไรว่าเพียงพอ โดยอาจจะอ้างอิงมาจากมาตรฐาน เช่น AQL MIL-STD-105-E

2.ในกระบวนการมีการนำ SPC มาควบคุมความผันแปรของกระบวนการ และค่า PPk ใน Lot ผลิต 5000ชิ้นนี้ (กรณีLotเดียวกัน,ถ้าหลายLot เป็น Cpk) มากกว่า 1.67

3.ถ้าในมุม MSA อาจยืนยันว่า จากค่า GRR ที่ออกมาจากการทดสอบพนักงาน พบว่าระบบของการวัดเหมาะสมค่า GRR อยู่ในมาตรฐานรวมถึง บุคลากรที่วัดงานนี้และเครื่องมือวัดที่ใช้วัดงานนี้เป็นประเภทเดียวกับที่ทดสอบ GRR ทั้งหมด

4.เครื่องมือวัดทั้งหมดมีใบ Cert ยืนยันโดยที่ใบ Cert ที่การ Approved ภายในแล้วว่าอยู่ในค่า Tolerance ของ Acceptance Criteria ของเครื่องมือวัดที่กำหนด โดยอ้างอิง Acceptance criteria มาจาก Std.จาก JIS......, ISO.......... ที่เราใช้เป็นมาตรฐานอ้างอิง

5.แสดงผลการ OJT ของพนักงานว่า พนักงานที่ปฏิบัติการตรวจวัดทั้ง Dimension และ Appearance ของชิ้นงานนี้มีความสามารถเพียงพอ

 

เราไม่เคยทำ MSA มาก่อน แค่ search ดูจากอากู๋แล้วเห็นว่ามันใกล้เคียง มันพอจะเอามาใช้กับกรณีนี้ได้ไหมคะ 

และเราควรวัดตัวอย่างทั้ง 5000 ชิ้น เพื่อมาทำ MSA เลยไหม หรือแค่สุ่มมาบางส่วน จำนวนของการสุ่มอ้างอิงจากอะไร

ขั้นตอนทำ MSA ต้องทำอย่างไร รบกวนแนะนำทีค่ะ 

 

ตอบคำถามนี้ครับ MSA คงไม่สามารถใช้ยืนยันผลการวัดได้ครับ เป็นเพียงการบ่งบอกว่า ระบบในการวัดของเรามีคุณภาพโดยมีตัวแปรกจาก เครื่องมือวัด และผู้วัด (GRR) หรืออาจเป็น การวัดเมื่อระยะเวลาเปลี่ยน หรือการวัดเมื่อเครื่องมือเปลี่ยน (Linearility, Stability) และรวมถึงในมุมของ Appearance ครับ

 

หากมีไฟล์เอกสารตัวอย่างให้ดูจะขอบคุณมากๆ ค่ะ ะเหมาะสมกว่าครับ ทั้งนี้ทั้งนั้น

 

ลองหาตำรา MSA มาอ่านดูครับ มันจะมีบอกวิธีการอยู่ครับ รวมถึง แบบฟอร์ม

 



#5 iso_man

iso_man

    Super Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 5,134 posts
  • Gender:Male

Posted 17 December 2022 - 03:37 PM

สอบถามผู้รู้หน่อยค่ะ 

 

เราผลิตชิ้นงาน 5000 ชิ้น และทำการวัด diameter ของชิ้นงานโดยสุ่มมาจำนวนหนึ่งเพื่อใช้เป็นตัวแทนของจำนวนทั้งหมด

เพื่อต้องการยืนยันว่า ค่า diameter ของชิ้นงานที่สุ่มมานั้นอยู่ในมาตรฐาน

 

แต่ลูกค้าถามว่า ใช้มาตรฐานอะไรในการยืนยันผลการวัด เพราะการวัดมีค่า error ทั้งจากเครื่องมือ และคน เป็นต้น

เราจึงอยากสอบถามว่าควรแสดงให้ลูกค้าเห็นยังไงดีว่าตัวเลขที่เราได้จากการวัดของเราแม่นยำ หรือเชื่อถือได้

 

เราไม่เคยทำ MSA มาก่อน แค่ search ดูจากอากู๋แล้วเห็นว่ามันใกล้เคียง มันพอจะเอามาใช้กับกรณีนี้ได้ไหมคะ 

และเราควรวัดตัวอย่างทั้ง 5000 ชิ้น เพื่อมาทำ MSA เลยไหม หรือแค่สุ่มมาบางส่วน จำนวนของการสุ่มอ้างอิงจากอะไร

ขั้นตอนทำ MSA ต้องทำอย่างไร รบกวนแนะนำทีค่ะ 

 

หากมีไฟล์เอกสารตัวอย่างให้ดูจะขอบคุณมากๆ ค่ะ 

ผมแนะนำให้พิจารณาอย่างนี้นะครับ ในระบบการวัดเรามีสิ่งใช้ยืนยันความสามารถในการวัดผล 2 ประการ คือ

1. ความเสถียรของกระบวนการเป็น การเฝ้าติดตามการผลิตว่าอยู่ในขอบเขตของการยอมรับหรือไม่ ซึ่งหลายๆท่านก็กล่าวไปแล้ว คือใช้เชิงสถิติได้แก่ เส้น Control chart ซึ่งมาจากการเก็บข้อมูลการผลิตเป็น Lot ต้อเนื่อง หากพบว่าออกนอกเส้นควบคุมก็ไปดูว่ามีอะไรผิดปกติ และออกนอก spec ไหม ถ้าไม่มีก็ปล่อยผลิตต่อ

2 ความสามารถของกระบวนการ คือ การยืนยัน spec ที่เราผลิตได้ตามที่กำหนดไว้หรือไม่ โดยการนำมาวัดค่าละ Plot ออกมาเป็นเชิงสถิติในแง่ของ sigma โดยเกณฑ์การยอมรับปกติจะดูจากลูกค้ากำหนด แต่ถ้าไม่กำหนดก็ใช้ค่าตั้งแต่ 1.33 ขึ้นไป ตามที่หลายท่านได้บอกไปแล้ว

แต่ทั้งนี้การที่ยืนยันความเที่ยงตรง และแม่นยำของการระบบการวัดที่คุณเข้าใจ คือ MSA เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของการวัดโดยเป็นลักษณษะของการทำซ้ำและเปรียบเทียบกับบุุคคลอื่นๆ หรือ ตัวอย่างที่เปลี่ยนไป ที่มักจะเรียกว่า GR&R

ดังนั้น คำถามที่ลูกค้าถามมันจึงต้องเริ่มจากความน่าเชื่อถือของระบบการวัดก่อน และไปใช้ความสามารถและความเสถียรของกระบวนการในการยืนยันครับ


การมีความรู้ มาจากการเรียนรู้ และปฏิบัติ หากเรียนอย่างเดียวไม่ปฏิบัีติก็เรียกว่ารุ้ไม่จริง
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451





Also tagged with one or more of these keywords: MSA, QA, measurement

0 user(s) are reading this topic

0 members, 0 guests, 0 anonymous users