สวัสดีค่ะ ทุกท่าน
รบกวนขอความช่วยเหลือหน่อยสิค่ะ คือว่า อยากทราบวิธีการตรวจสอบวัตถุดิบ ประเภทฟิมล์ค่ะ ว่าตรวจสอบอย่างไรบ้าง
โดยปกติจะตรวจสอบแค่ล๊อตถูกต้องเท่านั้น ก็ทราบนะค่ะ ว่าอาจจะตรวจสอบด้านสายตา รูปทรงภายนอก แล้วถ้าเป็นการตรวจเนื้อฟิมล์ หรือ
ต้องการตรวจสอบด้านสายตาแต่เป็นการนำเนื้อฟิมล์เพื่อตรวจจริง โดยทั่วไปจะใช้ประมาณกี่เมตร และมีวิธีอื่นๆไหมค่ะ
ขอคุณล่วงหน้าสำหรับการแบ่งปันข้อมูลข่าวสารค่ะ
ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com
อยากทราบวิธีการตรวจสอบวัตถุดิบแบบม้วน
Started by
jeje
, Nov 24 2009 11:10 AM
1 reply to this topic
#1
Posted 24 November 2009 - 11:10 AM
#2
Posted 24 November 2009 - 11:28 AM
1. ให้สุ่มจำนวนม้วนฟิล์มตามเกณฑ์ MIL-STD-105E หรือ Sampling plan ที่ลูกค้ากำหนด
2. ให้ขอใบ COA จาก Supplier ทุก Lot
3. ให้ตัดตัวอย่างม้วนฟิล์มประมาณ 5 เมตร จากหน้าม้วน เพื่อนำไปตรวจสอบที่ Lab เช่นการ Treat Corona, Tensile, Friction, Elongation, Thickness, Basis weight เป็นต้น และเก็บเป็น Retention
หมายเหตุ ที่ตัดตัวอย่างจำนวน 5 เมตร เพราะผมนำข้อมูลจากการที่ผมไป Audit supplier โรงพิมพ์ Packaging หลายแห่ง แล้วเค้าให้ข้อมูลนี้มา เพราะตอนนั้นผมก็ถามเค้าว่าทำไมต้อง 5 เมตร ซึ่งเค้าได้ตอบว่าเค้า Validate มาแล้วพบว่าตัวอย่างที่ 5 เมตร สามารถเป็นตัวแทนของฟิล์มม้วนนั้นๆได้ (คุณอาจ Validate เองก็ได้ เพื่อเก็บเป็นข้อมูลไว้ใช้ประกอบตอนที่ Audit) แต่ถ้าเกิดปัญหาที่กลางม้วนจริงๆตอนที่นำไปให้ผลิตจริงก็สามารถ Reject คือ Supplier ได้อยู่ดีครับ แต่ถ้าตัดตัวอย่างมากกว่า 5 เมตร ได้ก็ดี แต่ก็เป็น Cost ที่เพิ่มขึ้น แต่ถ้าน้อยกว่า 5 เมตรก็ไม่การันตีครับ
หรืออีกวิธีที่ผมพบกับ Supplier ที่ไป Audit ก็คือเค้าให้ Supplier ที่ขายฟิล์ม ตัวตัวอย่างมาให้เค้าเลย คือกำหนดว่าต้องตัดที่ต้นม้วน, กลางม้วน, ปลายม้วน (เพราะ Supplier ผลิต Film เค้าสามารถตัดสามารถตัดตัวอย่างต้น-กลาง-ปลาย ให้เราได้ตอนที่เค้า Blow film หรือ Slit film) แล้วส่งแนบมากับ COA และแต่ละตัวอย่างที่ตัดมาต้องระบุ Lot No., Roll No. ไว้ด้วย แต่วิธีนี้ผมมองแล้วว่ามีข้อเสียคือจะทำให้ม้วนฟิล์มมีรอยต่อช่วงกลางม้วนที่ค่อนข้า
งจะเยอะมากกว
่า 2 รอยต่อ เพราะบางม้วนทาง Supplier ผลิต Film ก็กรีดออกเอง แล้วต่อม้วนทำให้เกิดรอยต่อเองด้วย ซึ่งจะเป็นปัญหาตอนที่คุณนำไปใช้ในฝ่ายผลิตครับ
2. ให้ขอใบ COA จาก Supplier ทุก Lot
3. ให้ตัดตัวอย่างม้วนฟิล์มประมาณ 5 เมตร จากหน้าม้วน เพื่อนำไปตรวจสอบที่ Lab เช่นการ Treat Corona, Tensile, Friction, Elongation, Thickness, Basis weight เป็นต้น และเก็บเป็น Retention
หมายเหตุ ที่ตัดตัวอย่างจำนวน 5 เมตร เพราะผมนำข้อมูลจากการที่ผมไป Audit supplier โรงพิมพ์ Packaging หลายแห่ง แล้วเค้าให้ข้อมูลนี้มา เพราะตอนนั้นผมก็ถามเค้าว่าทำไมต้อง 5 เมตร ซึ่งเค้าได้ตอบว่าเค้า Validate มาแล้วพบว่าตัวอย่างที่ 5 เมตร สามารถเป็นตัวแทนของฟิล์มม้วนนั้นๆได้ (คุณอาจ Validate เองก็ได้ เพื่อเก็บเป็นข้อมูลไว้ใช้ประกอบตอนที่ Audit) แต่ถ้าเกิดปัญหาที่กลางม้วนจริงๆตอนที่นำไปให้ผลิตจริงก็สามารถ Reject คือ Supplier ได้อยู่ดีครับ แต่ถ้าตัดตัวอย่างมากกว่า 5 เมตร ได้ก็ดี แต่ก็เป็น Cost ที่เพิ่มขึ้น แต่ถ้าน้อยกว่า 5 เมตรก็ไม่การันตีครับ
หรืออีกวิธีที่ผมพบกับ Supplier ที่ไป Audit ก็คือเค้าให้ Supplier ที่ขายฟิล์ม ตัวตัวอย่างมาให้เค้าเลย คือกำหนดว่าต้องตัดที่ต้นม้วน, กลางม้วน, ปลายม้วน (เพราะ Supplier ผลิต Film เค้าสามารถตัดสามารถตัดตัวอย่างต้น-กลาง-ปลาย ให้เราได้ตอนที่เค้า Blow film หรือ Slit film) แล้วส่งแนบมากับ COA และแต่ละตัวอย่างที่ตัดมาต้องระบุ Lot No., Roll No. ไว้ด้วย แต่วิธีนี้ผมมองแล้วว่ามีข้อเสียคือจะทำให้ม้วนฟิล์มมีรอยต่อช่วงกลางม้วนที่ค่อนข้า
งจะเยอะมากกว
่า 2 รอยต่อ เพราะบางม้วนทาง Supplier ผลิต Film ก็กรีดออกเอง แล้วต่อม้วนทำให้เกิดรอยต่อเองด้วย ซึ่งจะเป็นปัญหาตอนที่คุณนำไปใช้ในฝ่ายผลิตครับ
"ในโลกนี้ไม่มีคนแปลกหน้าสำหรับเรา มีแต่เพื่อนที่เรายังไม่ได้พบกันเท่านั้น"
E-mail suppadej@gmail.com
0 user(s) are reading this topic
0 members, 0 guests, 0 anonymous users