ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

input และ output ของการออกแบบ mold
Started by
ctrls_1
, Mar 11 2010 08:17 AM
6 replies to this topic
#1
Posted 11 March 2010 - 08:17 AM
สวัสดีครับพี่ๆเพื่อนๆ
ผมขอความกรุณาทุกท่านหน่อยครับ แบบว่า งง เพราะโดน CAR จาก CB มาล่าสุด ครั้งหน้ถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ
ปัญหาที่ผมโดนคือ การเขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง และ output มีอะไร (รวมถึง design change)
ถ้าพี่ๆ-เพื่อนๆท่านใด มีประสบการณ์รบกวนเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยครับ และถ้ามีตัวอย่างด้วย ผมก็รบกวนด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
ผมขอความกรุณาทุกท่านหน่อยครับ แบบว่า งง เพราะโดน CAR จาก CB มาล่าสุด ครั้งหน้ถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ
ปัญหาที่ผมโดนคือ การเขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง และ output มีอะไร (รวมถึง design change)
ถ้าพี่ๆ-เพื่อนๆท่านใด มีประสบการณ์รบกวนเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยครับ และถ้ามีตัวอย่างด้วย ผมก็รบกวนด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
#2
Posted 11 March 2010 - 08:45 AM
QUOTE(ctrls_1 @ Mar 11 2010, 08:17 AM) <{POST_SNAPBACK}>
สวัสดีครับพี่ๆเพื่อนๆ
ผมขอความกรุณาทุกท่านหน่อยครับ แบบว่า งง เพราะโดน CAR จาก CB มาล่าสุด ครั้งหน้ถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ
ปัญหาที่ผมโดนคือ การเขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง และ output มีอะไร (รวมถึง design change)
ถ้าพี่ๆ-เพื่อนๆท่านใด มีประสบการณ์รบกวนเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยครับ และถ้ามีตัวอย่างด้วย ผมก็รบกวนด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
ผมขอความกรุณาทุกท่านหน่อยครับ แบบว่า งง เพราะโดน CAR จาก CB มาล่าสุด ครั้งหน้ถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ
ปัญหาที่ผมโดนคือ การเขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง และ output มีอะไร (รวมถึง design change)
ถ้าพี่ๆ-เพื่อนๆท่านใด มีประสบการณ์รบกวนเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยครับ และถ้ามีตัวอย่างด้วย ผมก็รบกวนด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
ที่คุณบอกมานี่หมายความว่าCB มองว่าในQP.การออกแบบเรื่องการออกแบบmoldมีข้อมูลไม่ครบตามข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับ
การออกแบบใช่หรือเปล่าครับ
ถ้าใช่คุณก็ลองไปทบทวนQPกับข้อกำหนดดูครับว่ามีข้อไหนตกหล่น แล้วก็แก้ไขลงไปครับ...
#3
Posted 11 March 2010 - 09:05 AM
QUOTE(ctrls_1 @ Mar 11 2010, 08:17 AM) <{POST_SNAPBACK}>
สวัสดีครับพี่ๆเพื่อนๆ
ผมขอความกรุณาทุกท่านหน่อยครับ แบบว่า งง เพราะโดน CAR จาก CB มาล่าสุด ครั้งหน้ถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ
ปัญหาที่ผมโดนคือ การเขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง และ output มีอะไร (รวมถึง design change)
ถ้าพี่ๆ-เพื่อนๆท่านใด มีประสบการณ์รบกวนเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยครับ และถ้ามีตัวอย่างด้วย ผมก็รบกวนด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
ผมขอความกรุณาทุกท่านหน่อยครับ แบบว่า งง เพราะโดน CAR จาก CB มาล่าสุด ครั้งหน้ถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ
ปัญหาที่ผมโดนคือ การเขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง และ output มีอะไร (รวมถึง design change)
ถ้าพี่ๆ-เพื่อนๆท่านใด มีประสบการณ์รบกวนเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยครับ และถ้ามีตัวอย่างด้วย ผมก็รบกวนด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
ไม่ทราบว่าคุณ'ctrls_1' เขียนแผนภูมิเต่าของกระบวนการที่ว่านี้หรือยังครับ
Oooo
#4
Posted 11 March 2010 - 12:29 PM
" ปัญหาที่ผมโดนคือ การเขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง และ output มีอะไร (รวมถึง design change) "
ตอบ บอกล่าว สอบถาม ผู้ตรวจคนนั้นว่า ตรงไหนที่ข้อกำหนด ISO ที่บังคับให้ต้องเขียนกระบวนการออกแบบแม่พิมพ์ให้เป็นเอกสารระเบียบปฏิบัติ
ไม่มีครับ ไม่จำเป็น ในแง่การทำธุรกิจแม่พิมพิ์
หากผู้ตรวจสั่งอย่างนี้จริง ให้ถือว่าผู้ตรวจนั้นไม่ qualify พอมาตรวจคุณ รวมถึงอาจไม่มีปัญญาพอในการอธิบายหรือทำให้เข้าใจว่าเขาเห็นหลักฐานการไม่มีประสิทธิ
ผลอันใด หรือเห็นปัญหาอะไร
ไม่เชื่อลองอ่านมาตรฐาน ISO 9001 อีกรอบ โดยเฉพาะ ข้อ 7.3
จะพบว่า ไม่มีตรงไหนที่บอกว่า กระบวนการออกแบบต้องได้รับการจัดทำเป็นเอกสารระเบียบปฏิยัติ ดังนั้น ผู้ตรวจจะมาบอกว่า เรา " เขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง"
ผู้ตรวจประเมินต้องตรวจประเมินโดยเทียบกับข้อกำหนดของมาตรฐาน ISO ครับ
ไม่มีข้อกำหนดที่กำหนดกระบวนการออกแบบให้เป็นระเบียบปฏิบัตื หรอกครับ ไม่ต้องมียังได้เลย
- design input การออกแบบ ของอุตสาหกรรมการออกแบบแม่พิมพ์ มักอยู่ในแบบฟอร๋มที่เรียกว่า process sheet อยู่แล้ว ไม่งั้นออกแบบแม่พิมพ์ไม่ได้หรอก เช่น หากไม่รู้ว่าลูกค้าใช้เครื่องฉีดยี่ห้ออะไร ต้องการฉีดกี่ชิ้นต่อชั่วโมง พลาสติที่ใช้เป็นอะไร
- ส่วนมากตอนนี้ ใช้software ในการออกแบบ ดังๆตอนนี้ เช่น mold flow และในกระบวนการอื่น มีการใช้ CAD/CAM มากมาย....... ระบบจึงค่อนข้าง papaer less ด้วยซ้ำไป
ปัญหา คือ ทำไมต้อง การกำหนด input ในการออกแบบ ในระเบียบปฏิบัติให้ผู้ตรวจดูด้วย
ระบบการจัดการในการ ทบทวนแบบงานก่อนผลิตสำคัญสุดๆ เพราะหากพลาด บริษัทเสียชื่อแน่นอน
บริษัทแม่พิมพ์ญี่ปุ่น มักมีการใข้ checklist ในการทบทวน review แบบงานไม่ว่า layout drawing หรือ detail drawing ก่อนส่งสู่การผลิตแม่พิมพ์เสมอ โดยเฉพาะแม่พิมพ์ที่มีความละเอียดสูง ที่เหลือจากระบบคือทักษะฝีมือของช่างผลิตแม่พิมพ์ ดังนี้นต้องมีกระบวนการในการจัดการความสามารถของพนักงานดีๆ
software ปัจจุบัน สามารถทำการ simulate การประกอบแม่พิมพ์ สภาวะการฉึดได้ด้วยซ้ำไป
ประเด็น ที่อยากบอก คือ เรื่องนี้ไม่ใข่ เรื่องที่ต้องใส่ รายละเอียดในระเบียบเรื่องการออกแบบ เพระไม่มีประโยชน์
.............
ผมว่า ผู้ตรวจไม่เข้าใจธุรกิจการทำแม่พิมพ์ รวมถึงไม่เข้าใจข้อกำหนด ISO ในเรื่องกระบวนการออกแบบ เลยทำให้เขา comment แบบนี้
................
" ครั้งหน้าถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ "
ตอบ เลอะเทอะ อย่าเลอะเทอะตามเขาเลย
................
อธิบายเพิ่มเติม เรื่อง design input ครับ http://www.training....sign-input.html
อธิบายเพิ่มเติม เรื่อง design output ครับ http://www.training....ign-output.html
ธุรกิจแม่พิมพ์ ไม่ใช่งาน mass production เป็นงานใช้ฝีมือ เป็นงานพึ่งทักษะสูง
เป็นงานโครงการ คือ งานประเภทชิ้นเดียวจบ
เป็นงานที่มีความเกี่ยวข้องระหว่าง การออกแบบกับการผลิต หลอมเป็นงานเดียว ตั้งแต่คุยลูกค้าจนถึง trial mold
การ validate แม่พิมพ์ คือทดลองฉีด/ stamp /press จนได้ชิ้นงานตามความต้องการลูกค้า
การ verify คือ การ approved แบบแม่พิมพ์
Design change เป็นเรือ่งของการ modify แม่พิมพ์ ไม่ว่าเพิ่งส่งมอบหรือ ระหว่างwarranty ระหว่างซ่อม ก็ตาม ซึ่งรวมถึงการทำ as built drawing ให้กับลูกค้า
ตอบ บอกล่าว สอบถาม ผู้ตรวจคนนั้นว่า ตรงไหนที่ข้อกำหนด ISO ที่บังคับให้ต้องเขียนกระบวนการออกแบบแม่พิมพ์ให้เป็นเอกสารระเบียบปฏิบัติ
ไม่มีครับ ไม่จำเป็น ในแง่การทำธุรกิจแม่พิมพิ์
หากผู้ตรวจสั่งอย่างนี้จริง ให้ถือว่าผู้ตรวจนั้นไม่ qualify พอมาตรวจคุณ รวมถึงอาจไม่มีปัญญาพอในการอธิบายหรือทำให้เข้าใจว่าเขาเห็นหลักฐานการไม่มีประสิทธิ
ผลอันใด หรือเห็นปัญหาอะไร
ไม่เชื่อลองอ่านมาตรฐาน ISO 9001 อีกรอบ โดยเฉพาะ ข้อ 7.3
จะพบว่า ไม่มีตรงไหนที่บอกว่า กระบวนการออกแบบต้องได้รับการจัดทำเป็นเอกสารระเบียบปฏิยัติ ดังนั้น ผู้ตรวจจะมาบอกว่า เรา " เขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง"
ผู้ตรวจประเมินต้องตรวจประเมินโดยเทียบกับข้อกำหนดของมาตรฐาน ISO ครับ
ไม่มีข้อกำหนดที่กำหนดกระบวนการออกแบบให้เป็นระเบียบปฏิบัตื หรอกครับ ไม่ต้องมียังได้เลย
- design input การออกแบบ ของอุตสาหกรรมการออกแบบแม่พิมพ์ มักอยู่ในแบบฟอร๋มที่เรียกว่า process sheet อยู่แล้ว ไม่งั้นออกแบบแม่พิมพ์ไม่ได้หรอก เช่น หากไม่รู้ว่าลูกค้าใช้เครื่องฉีดยี่ห้ออะไร ต้องการฉีดกี่ชิ้นต่อชั่วโมง พลาสติที่ใช้เป็นอะไร
- ส่วนมากตอนนี้ ใช้software ในการออกแบบ ดังๆตอนนี้ เช่น mold flow และในกระบวนการอื่น มีการใช้ CAD/CAM มากมาย....... ระบบจึงค่อนข้าง papaer less ด้วยซ้ำไป
ปัญหา คือ ทำไมต้อง การกำหนด input ในการออกแบบ ในระเบียบปฏิบัติให้ผู้ตรวจดูด้วย
ระบบการจัดการในการ ทบทวนแบบงานก่อนผลิตสำคัญสุดๆ เพราะหากพลาด บริษัทเสียชื่อแน่นอน
บริษัทแม่พิมพ์ญี่ปุ่น มักมีการใข้ checklist ในการทบทวน review แบบงานไม่ว่า layout drawing หรือ detail drawing ก่อนส่งสู่การผลิตแม่พิมพ์เสมอ โดยเฉพาะแม่พิมพ์ที่มีความละเอียดสูง ที่เหลือจากระบบคือทักษะฝีมือของช่างผลิตแม่พิมพ์ ดังนี้นต้องมีกระบวนการในการจัดการความสามารถของพนักงานดีๆ
software ปัจจุบัน สามารถทำการ simulate การประกอบแม่พิมพ์ สภาวะการฉึดได้ด้วยซ้ำไป
ประเด็น ที่อยากบอก คือ เรื่องนี้ไม่ใข่ เรื่องที่ต้องใส่ รายละเอียดในระเบียบเรื่องการออกแบบ เพระไม่มีประโยชน์
.............
ผมว่า ผู้ตรวจไม่เข้าใจธุรกิจการทำแม่พิมพ์ รวมถึงไม่เข้าใจข้อกำหนด ISO ในเรื่องกระบวนการออกแบบ เลยทำให้เขา comment แบบนี้
................
" ครั้งหน้าถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ "
ตอบ เลอะเทอะ อย่าเลอะเทอะตามเขาเลย
................
อธิบายเพิ่มเติม เรื่อง design input ครับ http://www.training....sign-input.html
อธิบายเพิ่มเติม เรื่อง design output ครับ http://www.training....ign-output.html
ธุรกิจแม่พิมพ์ ไม่ใช่งาน mass production เป็นงานใช้ฝีมือ เป็นงานพึ่งทักษะสูง
เป็นงานโครงการ คือ งานประเภทชิ้นเดียวจบ
เป็นงานที่มีความเกี่ยวข้องระหว่าง การออกแบบกับการผลิต หลอมเป็นงานเดียว ตั้งแต่คุยลูกค้าจนถึง trial mold
การ validate แม่พิมพ์ คือทดลองฉีด/ stamp /press จนได้ชิ้นงานตามความต้องการลูกค้า
การ verify คือ การ approved แบบแม่พิมพ์
Design change เป็นเรือ่งของการ modify แม่พิมพ์ ไม่ว่าเพิ่งส่งมอบหรือ ระหว่างwarranty ระหว่างซ่อม ก็ตาม ซึ่งรวมถึงการทำ as built drawing ให้กับลูกค้า
#5
Posted 11 March 2010 - 03:39 PM
เอ่อ...................ผมว่าเรื่องนี้มันมองได้หลายมุมครับ
ผมขอแชร์ในมุมมองของออดิเตอร์ละกันครับ......คืองี้ ตอนเราตรวจเราก็จะตรวจโดยใช้เกณฑ์ตาม
1.ข้อกำหนดมาตรฐานที่ขอรับรอง 2.กฏหมาย(ถ้ามี) 3.ข้อกำหนดของลูกค้า(ถ้ามี) และ4.ระบียบปฏิบัติรวมถึงเอกสารภายในขององค์กร
ทีนี้ ถ้าผิด หรือไม่สอดคล้อง อันใดอันหนึ่ง ก็ต้องออกเอกสารที่เราเรียกว่า ใบCAR ซึ่งก็จะมีระดับความรุนแรง 1.เมเจอร์ 2.ไมเนอร์ 3.คาดโทษ (โอเอฟไอ=โอกาสในการปรับปรุง) หรือจะเรียกว่า Observe หรือ Comment อะไรก็แล้วแต่
ทีนี้...ในเนื้อเรื่องเท่าที่ผมอ่านๆดู ออดิเตอร์คงจะมองเห็นหล่ะครับ ว่ามีปัญหาเกิดขึ้นในระบบ เนื่องจาก procedure เขียนไว้ไม่ชัดเจน อาจจะส่งผลเสียต่อระบบคุณภาพได้ เลยออกเอกสารที่เรียกว่า CAR มาให้แก้ไข ผมเดาว่าออกมาให้ในระดับ ไมเนอร์
ที่นี้...ไมเนอร์เนี่ยมันก็ต้องแก้น่ะครับ ถ้าแก้ไม่ได้ คราวหน้าก็จะถูกยกระดับเป็นเมเจอร์ โดยอัตโนมัต แล้วใบเซอร์ของท่านก็จะถูกเข้าไปอยู่ในขบวนการ Decertificaton โดยอัตโนมัติครับ ตามกฎครับ
ซึ่งผมก็เดาว่าท่านกำลังได้รับการรับรองระบบ TS อยู่ในเวลานี้ จริงๆแล้วแค่โดน CAR ท่านก็ต้องเข้าสู่ขบวนการนี้อยู่แล้วครับ ไม่ว่าจะเมเจอร์หรือไมเนอร์ก็ตาม อันนี้กฎมันเขียนไว้
สรุปว่าเมื่อรับว่าเป็น CAR ก็แก้ไขซะ มันไม่ใช่เรื่องยากครับ
ผมขอแชร์ในมุมมองของออดิเตอร์ละกันครับ......คืองี้ ตอนเราตรวจเราก็จะตรวจโดยใช้เกณฑ์ตาม
1.ข้อกำหนดมาตรฐานที่ขอรับรอง 2.กฏหมาย(ถ้ามี) 3.ข้อกำหนดของลูกค้า(ถ้ามี) และ4.ระบียบปฏิบัติรวมถึงเอกสารภายในขององค์กร
ทีนี้ ถ้าผิด หรือไม่สอดคล้อง อันใดอันหนึ่ง ก็ต้องออกเอกสารที่เราเรียกว่า ใบCAR ซึ่งก็จะมีระดับความรุนแรง 1.เมเจอร์ 2.ไมเนอร์ 3.คาดโทษ (โอเอฟไอ=โอกาสในการปรับปรุง) หรือจะเรียกว่า Observe หรือ Comment อะไรก็แล้วแต่
ทีนี้...ในเนื้อเรื่องเท่าที่ผมอ่านๆดู ออดิเตอร์คงจะมองเห็นหล่ะครับ ว่ามีปัญหาเกิดขึ้นในระบบ เนื่องจาก procedure เขียนไว้ไม่ชัดเจน อาจจะส่งผลเสียต่อระบบคุณภาพได้ เลยออกเอกสารที่เรียกว่า CAR มาให้แก้ไข ผมเดาว่าออกมาให้ในระดับ ไมเนอร์
ที่นี้...ไมเนอร์เนี่ยมันก็ต้องแก้น่ะครับ ถ้าแก้ไม่ได้ คราวหน้าก็จะถูกยกระดับเป็นเมเจอร์ โดยอัตโนมัต แล้วใบเซอร์ของท่านก็จะถูกเข้าไปอยู่ในขบวนการ Decertificaton โดยอัตโนมัติครับ ตามกฎครับ
ซึ่งผมก็เดาว่าท่านกำลังได้รับการรับรองระบบ TS อยู่ในเวลานี้ จริงๆแล้วแค่โดน CAR ท่านก็ต้องเข้าสู่ขบวนการนี้อยู่แล้วครับ ไม่ว่าจะเมเจอร์หรือไมเนอร์ก็ตาม อันนี้กฎมันเขียนไว้
สรุปว่าเมื่อรับว่าเป็น CAR ก็แก้ไขซะ มันไม่ใช่เรื่องยากครับ
#6
Posted 15 March 2010 - 10:21 PM
QUOTE(ctrls_1 @ Mar 11 2010, 08:17 AM) <{POST_SNAPBACK}>
สวัสดีครับพี่ๆเพื่อนๆ
ผมขอความกรุณาทุกท่านหน่อยครับ แบบว่า งง เพราะโดน CAR จาก CB มาล่าสุด ครั้งหน้ถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ
ปัญหาที่ผมโดนคือ การเขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง และ output มีอะไร (รวมถึง design change)
ถ้าพี่ๆ-เพื่อนๆท่านใด มีประสบการณ์รบกวนเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยครับ และถ้ามีตัวอย่างด้วย ผมก็รบกวนด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
ผมขอความกรุณาทุกท่านหน่อยครับ แบบว่า งง เพราะโดน CAR จาก CB มาล่าสุด ครั้งหน้ถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ
ปัญหาที่ผมโดนคือ การเขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง และ output มีอะไร (รวมถึง design change)
ถ้าพี่ๆ-เพื่อนๆท่านใด มีประสบการณ์รบกวนเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยครับ และถ้ามีตัวอย่างด้วย ผมก็รบกวนด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
สู้ๆๆหน่อยน่า เค้าอ่ะโดน car จากภายนอกตั้ง 3 คันแน่ะ ม่ายรุจาขับคันไหนก่อนดี (แก้ไขเรียบโร้ยหมดแล้ว)

#7
Posted 15 March 2010 - 11:40 PM
QUOTE(ctrls_1 @ Mar 11 2010, 08:17 AM) <{POST_SNAPBACK}>
สวัสดีครับพี่ๆเพื่อนๆ
ผมขอความกรุณาทุกท่านหน่อยครับ แบบว่า งง เพราะโดน CAR จาก CB มาล่าสุด ครั้งหน้ถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ
ปัญหาที่ผมโดนคือ การเขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง และ output มีอะไร (รวมถึง design change)
ถ้าพี่ๆ-เพื่อนๆท่านใด มีประสบการณ์รบกวนเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยครับ และถ้ามีตัวอย่างด้วย ผมก็รบกวนด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
ผมขอความกรุณาทุกท่านหน่อยครับ แบบว่า งง เพราะโดน CAR จาก CB มาล่าสุด ครั้งหน้ถ้าแก้ไม่ได้ เราโดนยึดใบ Cer แน่ๆ
ปัญหาที่ผมโดนคือ การเขียน procedure เรื่องการออกแบบ mold ไม่ชัดเจน ทั้ง input และ output ของ process การออกแบบก็ไม่ระบุว่า input มีอะไรบ้าง และ output มีอะไร (รวมถึง design change)
ถ้าพี่ๆ-เพื่อนๆท่านใด มีประสบการณ์รบกวนเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยครับ และถ้ามีตัวอย่างด้วย ผมก็รบกวนด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
Product ของคุณคือ Mold ใช่หรือเปล่าครับ หรือว่าออกแบบ Mold ด้วย หล่อด้วย ฉีดด้วย
Input ในการออกแบบที่คุณต้องระบุใน Procedure ก็เป็นสิ่งที่จำเป็น "Shall" เลยแหละครับ พี่ Auditor คงไม่ได้ Comment แบบงี่เง่าหรอกน่ะ
คำถามแบบกวนๆแต่ต้องการคำตอบแบบจริงๆ ก็คือ คุณคิดว่า การออกแบบ Mold ออกแบบยังไงก็ได้ใช่ไหม ให้มันออกมารูปร่างหน้าตาแบบไหนก็ได้ใช่ไหม
สนใจ Dimension ของ Mold ไหม หรือ ออกมา Dimension เท่าไหร่ก็ได้ อะไรเป็นตัวกำหนดครับ
ใช้ Material Spec ไหนๆก็ได้ใช่ไหม ทำไมต้องเป็น SKD หรือเป็น Material Spec ที่เฉพาะเจาะจง
ทำไมต้องมีมุมถอดแบบที่เป็นมาตรฐาน ค่า R หรือ C ใน Mold ทำไมต้องอยู่ในช่วงใดช่วงหนึ่งล่ะ
อีกคำถาม จะออกแบบ Mold ได้ คุณต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง ถึงจะออกแบบ Mold ให้ออกมาได้ดี หรือได้ตามที่ลูกค้าต้องการ
คุณต้องใช้ข้อมูลต่อไปนี้บ้างไหม หรือ ข้อมูลเหล่านี้เป็นประโยชน์ในการออกแบบ Mold บ้างไหม
1. ประวัติปัญหาจากการออกแบบในอดีต
2. ประวัติปัญหาจากการออกแบบ Mold เดิมๆที่หน้าตาคล้ายๆกัน
3. Products Spec (Dimension, Tolerance)
4. แบบของ Mold ที่หน้าตาคล้ายๆกัน
5. ข้อมูล Customer Complaint, Claim ในอดีต
6. Sample ชิ้นงานตัวอย่าง
7. Customer Specific Requrements
8. Process Flow Diagram, FMEA, Control Plan, Work Instruction เดิมๆที่คล้ายๆกันกับ Mold ที่กำลังออกแบบอยู่
9. ข้อมูลเกี่ยวกับ SC:Special Characteristic
10. ฯลฯ
ถ้าข้อมูลพวกนี้ มันเป็นประโยชน์ในการออกแบบ ก็แปลว่า มันคือ Input ที่จำเป็นสำหรับคุณครับ จัดใส่ไปใน Procedure ซ่ะ
ส่วน Output ไว้คุยกันหลังมี Feedback จากคุณก่อนครับ
ขนาดแม่ค้าขายข้าวแกง เขายังจำเป็นต้องใช้ข้อมูลจากการ Order ของเรา เพื่อเป็น Input ในการทำอาหารหรือการทำไข่ดาวเลยน่ะครับ
แม่ค้าไม่ได้ทำตามใจตัวเองหรอกน่ะ เขาฟังเราก่อน ส่วนตรงไหนที่เราไม่ได้สั่งอะไรเป็นพิเศษ เขาค่อยทำตามมาตรฐานเดิมๆของเขา แต่บางที ถ้าเราเป็นเจ้าประจำ
เราแทบไม่ต้องอ้าปากสั่งเลย เพราะเขารู้อยู่แล้วว่าปกติเราชอบทานแบบไหน ประมาณว่า เห็นหน้าก็รู้ใจครับ
ประสบการณ์เดิมๆ หรือ การรับรู้เกี่ยวกับข้อกำหนดเฉพาะของลูกค้า สามารถจัดว่าเป็น Input หนึ่งในการออกแบบได้เช่นกันน่ะครับ

Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939
Facebook: Nukool Thanuanram
Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com
เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"
0 user(s) are reading this topic
0 members, 0 guests, 0 anonymous users