ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

ค่ายอมรับของเครื่องมือวัด
#1
Posted 12 March 2010 - 07:00 PM
หลังจากที่ทำการสอบเทียบไปแล้ว
ว่าเครื่องมือตัวใดผ่านการสอบเทียบ หรือ ไม่ผ่านการสอบเทียบบ้างครับ
ขอบคุณเพื่อนๆ มากครับ
#2
Posted 12 March 2010 - 07:04 PM
theerawut.thanomdee@gmail.com
#3
Posted 12 March 2010 - 10:24 PM
ข่อยมาซอยเด้อ ลองเบิ๊ง ...
Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939
Facebook: Nukool Thanuanram
Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com
เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"
#4
Posted 13 March 2010 - 06:09 AM

#5
Posted 13 March 2010 - 08:29 AM
ขอบคุณนะค่ะ ท่านอาจารย์


#6
Posted 13 March 2010 - 08:37 AM
ส่วนข้อกำหนดที่ใช้ในโรงานส่วนใหญ่ผมแนบให้ด้านล่างนะครับ
ข้อกำหนด ISO 10012-1-1992 เป็นมาตรฐานนานาชาติที่เข้าใช้กันนะครับ
ข้อกำหนดที่ 4.3 Confirmation System ตรง GUIDANCE บรรทัดที่มีปากกาขีดไว้นะครับ
เขาเขียนไว้ว่าการจะวัดอะไรก็ตามเครื่องมือที่ใช้วัด ควรมีข้อผิดพลาดให้น้อยที่สุด แต่หากผิดพลาดควจจะผิดพลาด ตั้งแต่1ใน3ขึ้นไปหรือ1ใน10ของพื้นที่หรือขนาดส่วนใหญ่ที่จะทำการวัด (พูดง่ายๆคือผิดพลาดไปเกิน3เทาหรือ10เท่า)นั้นเองครับ
ตัวอย่างการกำหนดเกณฑ์การยอมรับนะครับ มี VERNIER CALIPER ขนาด 0-150mm 1ตัวนะครับ
นำมาวัดชิ้นงานที่มีค่า Torelance บวกลบ0.25=0.5/10=0.05
0จะสรุปได้ว่า VERNIER CALIPER ที่ใช้ควรมีค่าความผิดพลาดไม่เกิน บวกลบ0.05 mm ครับ
ซึ้งค่า Torelance บวกลบ0.25 นี้ผมคิดจากค่าTorelanceที่โตสุดของงานที่ผลิตในบริษัทนะครับ
เอกสารที่แนบมานี้ผมได้มาจากทางสถาบันมาตรวิทยาแห่งประเทศไทยนะครับตอนไปอมรมการทวนส
อบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรมที่ สสท.
หากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขอโทษไว้นะที่นี้ด้วยนะครับ
ปล.อีกอย่างนึงนะครับหากเราเอาเกณฑ์การยอมรับของ LAB มาใช้จะทำให้บางทีเราปฏิเสธเครื่องมือที่ยังใช้ได้อยู่ว่าเป็นเครื่องมือเสียได้นะคร
ับ
แต่ถ้าถามว่านำไปใช้ได้ไหมใช้ได้ครับ แต่ลองคิดถึงต้นทุนที่จะตามมานะครับ
ไฟล์ใหญ่มากนะครับมีขนาด 9.37MB โหลดช้าหน่อยนะครับ
http://www.4shared.c...012-1-1992.html
" target="_blank">
http://www.4shared.c...012-1-1992.html
#7
Posted 13 March 2010 - 09:38 AM
#8
Posted 13 March 2010 - 09:59 AM
#9
Posted 13 March 2010 - 10:53 AM
เรียน อ.นุกูล
ผมขอบคุณมากครับ โหลดไปแล้วด้วย
แต่มีคำถามเพิ่มครับ
แล้วผมจะตั้งกฎหรือเขียนเป็น WI อย่างไรว่า ผมมีเกณฑ์ชี้บ่งว่าเครื่องมือตัวนี้สอบเทียบผ่านหรือไม่ผ่าน
โดยเอาค่าตรงไหนจากใบ CER ในการสอบเทียบ, ค่ายอมรับของชิ้นงาน, ความละเอียดของเครื่องมือ หรืออื่นๆ
หวังว่า อ.เข้าใจในคำถามนะครับ
พอดีเจอ Auditor ถามว่า "มีเกณฑ์ในการยอมรับเครื่องมือที่นำไปสอบเทียบอย่างไรว่าผ่านหรือไม่ผ่าน"
ขอบคุณอาจารย์อย่างสูงครับ
#10
Posted 13 March 2010 - 01:56 PM
#11
Posted 13 March 2010 - 02:57 PM
เกณฑ์การยอมรับ ว่าสอบเทียบแล้ว ดูยังไงว่าผ่านไม่ผ่าน
อย่างแรกเลย เราต้องหามาตรฐานอ้างอิงมาก่อน ว่าเครื่องมือนี้ เราจะสอบเทียบและยอมรับ โดยอ้างอิงตามมาตรฐานอะไร
อาจจะเอาตัวเลขนี้ไปใส่ไว้ที่ทะเบียนรายชื่อเครื่องมือวัดเลยก็ได้ เมื่อเราสอบเทียบเสร็จก็ดูว่าผลที่ออกมา ค่า error มันเกินไหม
ก็ใช้เกณฑ์ที่เรากำหนดไว้ในการตัดสินใจครับ ถ้าไม่มีข้อมูล แนะนำให้ถามผู้ขายหรือถาม Lab ที่เราส่งเครื่องมือไปก็ได้ครับ
ส่วนการอ่านค่าในใบ Certificate ก็ดูตรงค่า Error ครับ ว่าเกินไหม ลอง Post ใบ Cer ในนี้ก็ได้ครับ จะได้มาอ่านกัน
ผมเห็นหลายๆสำนักเขาเปิดหลักสูตรฝึกอบรมเรื่องเทคนิคการอ่านค่าในใบ Certificate น่ะ ผมมีแต่ข้อมูลที่เป็น Paper ครับ
ถ้าจะ Scan แล้วนำมาให้ดูกัน เกรงว่าจะเป็นการทำงานที่ไม่มีประสิทธิภาพครับ เพราะหลายหน้ามากๆ 555 ลองศึกษาเพิ่มเติมดูครับ
Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939
Facebook: Nukool Thanuanram
Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com
เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"
#12
Posted 13 March 2010 - 03:40 PM
อย่างแรกเลย เราต้องหามาตรฐานอ้างอิงมาก่อน ว่าเครื่องมือนี้ เราจะสอบเทียบและยอมรับ โดยอ้างอิงตามมาตรฐานอะไร
อาจจะเอาตัวเลขนี้ไปใส่ไว้ที่ทะเบียนรายชื่อเครื่องมือวัดเลยก็ได้ เมื่อเราสอบเทียบเสร็จก็ดูว่าผลที่ออกมา ค่า error มันเกินไหม
ก็ใช้เกณฑ์ที่เรากำหนดไว้ในการตัดสินใจครับ ถ้าไม่มีข้อมูล แนะนำให้ถามผู้ขายหรือถาม Lab ที่เราส่งเครื่องมือไปก็ได้ครับ
ส่วนการอ่านค่าในใบ Certificate ก็ดูตรงค่า Error ครับ ว่าเกินไหม ลอง Post ใบ Cer ในนี้ก็ได้ครับ จะได้มาอ่านกัน
ผมเห็นหลายๆสำนักเขาเปิดหลักสูตรฝึกอบรมเรื่องเทคนิคการอ่านค่าในใบ Certificate น่ะ ผมมีแต่ข้อมูลที่เป็น Paper ครับ
ถ้าจะ Scan แล้วนำมาให้ดูกัน เกรงว่าจะเป็นการทำงานที่ไม่มีประสิทธิภาพครับ เพราะหลายหน้ามากๆ 555 ลองศึกษาเพิ่มเติมดูครับ
ขอเสริมจากอาจรย์นุกูล อีกนิดนะครับ ถูกต้องแล้วครับ เกณฑ์การยอมรับ ขึ้นอยู่กับเราจะกำหนดอย่างไร
ส่วนผมผมใช้มาตรฐาน ISO 10012-1-1992 ในการกำหนด เดี๋ยวผมจะแนบ WI ให้ดูเป็นตัวอย่างเพื่อนำไปปรับใช้นะครับ
ส่วนการอ่านใบ CER.นั้นให้ดูที่ ค่าของขนาดตัวมาตรฐานที่เข้านำมาวัด กับ ค่าที่วัดได้โดยใช้เครื่องมือตัวนั้น
และดูว่ามันผิดพลาดจากขนาดตัวมาตรฐานไปเท่าใด และนำค่านั้นมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์การยอมรับที่เราตั้งไว้
ว่าเกินกว่าไหม
เช่น แท่งมาตรฐานที่ใช้วัดมีค่า 25 mm ผลการวัดออกมาอยู่ที่ 25.02 แสดงว่าเครื่องมือของเราตอนนี้
มีค่าผิดพลาดไปในทิศทางบวกคือ 0.02mm นำค่านั้นมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์การยอมรับที่เราตั้งไว้
ว่าเกินกว่าไหม ถ้าไม่เกินก็ยอมรับเครื่องมือนั้นได้ แต่ถ้าเกินก็ต้องดูว่าระบบของคุณมีการจัดการกับเครื่องมือ
เหล่านี้ยังไง เช่นอาจจะลดเกรดไปใช้วัดงานที่หยาบกว่า หรือเก็บไว้เป็นอะไหล่เป้นต้น
สวัสดีครับ
Attached Files
#13
Posted 13 March 2010 - 04:04 PM
ส่วนผมผมใช้มาตรฐาน ISO 10012-1-1992 ในการกำหนด เดี๋ยวผมจะแนบ WI ให้ดูเป็นตัวอย่างเพื่อนำไปปรับใช้นะครับ
ส่วนการอ่านใบ CER.นั้นให้ดูที่ ค่าของขนาดตัวมาตรฐานที่เข้านำมาวัด กับ ค่าที่วัดได้โดยใช้เครื่องมือตัวนั้น
และดูว่ามันผิดพลาดจากขนาดตัวมาตรฐานไปเท่าใด และนำค่านั้นมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์การยอมรับที่เราตั้งไว้
ว่าเกินกว่าไหม
เช่น แท่งมาตรฐานที่ใช้วัดมีค่า 25 mm ผลการวัดออกมาอยู่ที่ 25.02 แสดงว่าเครื่องมือของเราตอนนี้
มีค่าผิดพลาดไปในทิศทางบวกคือ 0.02mm นำค่านั้นมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์การยอมรับที่เราตั้งไว้
ว่าเกินกว่าไหม ถ้าไม่เกินก็ยอมรับเครื่องมือนั้นได้ แต่ถ้าเกินก็ต้องดูว่าระบบของคุณมีการจัดการกับเครื่องมือ
เหล่านี้ยังไง เช่นอาจจะลดเกรดไปใช้วัดงานที่หยาบกว่า หรือเก็บไว้เป็นอะไหล่เป้นต้น
สวัสดีครับ
ขอบคุณ คุณ zefiro ที่มาช่วยเสริมข้อมูลเพื่อเพิ่มพูนความเข้าใจด้วยน่ะครับ
ว่าแต่ ชอบ Nissan เหรอครับ ผมใช้ Honda แว๊บ ครับ ดังนั้น ขแว๊บไก่อนน่ะครับ
Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939
Facebook: Nukool Thanuanram
Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com
เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"
#14
Posted 13 March 2010 - 04:11 PM
#15
Posted 14 March 2010 - 11:24 AM
#16
Posted 14 March 2010 - 11:44 AM
ผมขับ WISH ขอแว๊บด้วย
#17
Posted 14 March 2010 - 12:04 PM
ผมขับ WISH ขอแว๊บด้วย
555 มาแนวนี้ สงสัยเมากาแฟมาแน่เลยพี่ Food Safety
Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939
Facebook: Nukool Thanuanram
Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com
เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"
#18
Posted 19 March 2010 - 11:50 PM
วิธีการกำหนด Spec คือ
1. นำมาจาก Maker
2. นำมาจาก spec ของงานมาหาร 3-10 ครับ
ส่วนใบ Certificate Calibration
ให้เรานำ Uncertainty+Error แล้วนำมาเทียบกับ
Spec ที่เรากำหนด
หรือถ้าเราไม่มี Spec ให้เราเอา Uncertainty เทียบกับ Resolution
ตัวอย่าง
Uncer 0.06 mm Resolution 0.1 ถือว่าเครื่องสามารถใช้งานได้
เนื่องจากค่าความไม่แน่นอนจะต้องไม่เกิน Resolution ครับ
#19
Posted 14 May 2010 - 09:12 PM
#20
Posted 15 May 2010 - 10:50 AM

0 user(s) are reading this topic
0 members, 0 guests, 0 anonymous users