Jump to content


ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

Photo

การระบุ Outsourced Process เป็นแบบไหน


  • This topic is locked This topic is locked
16 replies to this topic

#1 nookkrub

nookkrub

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 2 posts

Posted 22 March 2010 - 06:40 PM

ในเรื่องของการระบุ Outsourced Process พอจะทราบคร่าว ๆ แล้วว่า ถ้าองค์กรมีกระบวนการที่จำเป็นต้องทำสำหรับ QMS แต่ใช้หน่วยงานภายนอก ไม่ว่าทั้งองค์มีความถนัดใน Process นั้น ๆ หรือไม่ถนัดก็ตาม ต้องระบุออกมาเป็น Outsourced Process เช่น กระบวนการผลิต กระบวนการสอบเทียบ กระบวนการตรวจสอบ/ทดสอบ กระบวนจัดเก็บสินค้า และอื่น ๆ อีกมากมาย
แต่สงสัยนิดหนึ่งครับในกระบวนการซ่อมบำรุงนั้น ถ้าเป็นการให้เข้ามา บำรุงรักษาเครื่องจักร มอเตอร์, โฟลค์ลิฟท์เช่น ถ่ายน้ำมันเครื่อง ถือว่าเป็น Outsourced Process ในกิจกรรมซ่อมบำรุง แต่ถ้าหน่วยงานภายนอกรายนั้นเข้ามาซ่อมเครื่องจักร เช่น Mainboard ของเครื่องควบคุมอุณหภูมิเสีย หรือ ส่งมอเตอร์ไปซ่อมโดยพันขดลวดใหม่ หรือ ส่งใบมีด Cutter ไปให้ร้านข้างนอกรับคมใบมีด หรือ ส่งสกรูของเครื่องจักรไปกลึงใหม่เนื่องจากเกิดการบิดตัว อย่างนี้ถือว่าเป็น Outsourced Process หรือเปล่าครับ


รบกวนผู้รู้ช่วยให้ความกระจ่างด้วยครับ

ขอบคุณครับ
nookkrub


#2 นุกูล

นุกูล

    Super Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 4,797 posts
  • Gender:Male

Posted 23 March 2010 - 03:53 AM

QUOTE(nookkrub @ Mar 22 2010, 06:40 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ในเรื่องของการระบุ Outsourced Process พอจะทราบคร่าว ๆ แล้วว่า ถ้าองค์กรมีกระบวนการที่จำเป็นต้องทำสำหรับ QMS แต่ใช้หน่วยงานภายนอก ไม่ว่าทั้งองค์มีความถนัดใน Process นั้น ๆ หรือไม่ถนัดก็ตาม ต้องระบุออกมาเป็น Outsourced Process เช่น กระบวนการผลิต กระบวนการสอบเทียบ กระบวนการตรวจสอบ/ทดสอบ กระบวนจัดเก็บสินค้า และอื่น ๆ อีกมากมาย
แต่สงสัยนิดหนึ่งครับในกระบวนการซ่อมบำรุงนั้น ถ้าเป็นการให้เข้ามา บำรุงรักษาเครื่องจักร มอเตอร์, โฟลค์ลิฟท์เช่น ถ่ายน้ำมันเครื่อง ถือว่าเป็น Outsourced Process ในกิจกรรมซ่อมบำรุง แต่ถ้าหน่วยงานภายนอกรายนั้นเข้ามาซ่อมเครื่องจักร เช่น Mainboard ของเครื่องควบคุมอุณหภูมิเสีย หรือ ส่งมอเตอร์ไปซ่อมโดยพันขดลวดใหม่ หรือ ส่งใบมีด Cutter ไปให้ร้านข้างนอกรับคมใบมีด หรือ ส่งสกรูของเครื่องจักรไปกลึงใหม่เนื่องจากเกิดการบิดตัว อย่างนี้ถือว่าเป็น Outsourced Process หรือเปล่าครับ


รบกวนผู้รู้ช่วยให้ความกระจ่างด้วยครับ

ขอบคุณครับ
nookkrub


จริงๆแล้วถือว่าเป็น Outsource Process ทั้งหมดครับ
แต่มาตรฐานไม่ได้บอกน่ะครับ ว่าต้องควบคุมทั้งหมด เขาให้พิจารณาว่า Outsource Process ใดๆ ที่มีผลกระทบไปถึงความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์
ต้องได้รับการควบคุม การควบคุมก็ไม่จำเป็นต้องทำด้วยวิธีการ ความถี่ หรือระดับความเข้มงวดเดียวกัน เขาให้พิจารณาตามระดับความรุนแรงของผลกระทบ (ดู 4.1 ต่อ)

ดังนั้น

เราต้องระบุออกมาครับ ว่าเรามี Outsource Process อะไรบ้าง
Outsource Process ไหนบ้าง ที่มีผลกระทบ และ ไม่มีผลกระทบ
รายที่มีผลกระทบ ระดับความรุนแรงมันมากน้อยขนาดไหน (H M L)
กำหนดวิธีการควบคุมตามความเหมาะสม (การประเมินเพื่อคัดเลือก การประเมินซ้ำ การตรวจรับ การรับรองกระบวนการ การ Audit การร้องขอให้ Certify ระบบ ฯลฯ)

ยกตัวอย่างน่ะ
Outsource ที่รับจ้างลับใบมีด คุณว่ามีผลกระทบไปถึงความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์ไหม เขาอาจทำให้งานเราไม่ได้ตาม Spec ไหม เช่น ทำให้เกิด ครีบคมตัด ได้ไหม
แล้ว เราคิดว่าควรจะควบคุมเขาไหม

Outsource ที่รับจ้าง Maintenance เครื่องถ่ายเอกสาร จัดว่าเป็น Outsource ไหม แล้ว มีผลกระทบไหม แล้วคิดว่า เราต้องควบคุมเขาไหม

ในการทำงานจริงเราใช้ Outsource เยอะครับ แต่บางงาน ไม่ต้องควบคุมก็ได้ หรือ ค่อยนำมาควบคุมหลังจากรายหลักๆ Perfect แล้วก็ได้ครับ

ลองดูครับ

Nukool Thanuanram
Mobile Phone: 097.954.4939

Facebook: Nukool Thanuanram

Fanpage: อาจารย์นุกูล วิทยากรสอนคนโรงงาน
LINE ID: nukool2001
E-Mail: nukool2001@gmail.com


เสือพี่เพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง ดินเย็นเพราะหญ้าบัง และหญ้ายังเพราะดินดี "สรรพสิ่งล้วนเกื้อกูลพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน"


#3 Old man

Old man

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 432 posts
  • Gender:Male
  • Location:BSI Group Thailand
  • Interests:No Action , Talk Only.

Posted 23 March 2010 - 08:50 AM


องค์กรในปัจจุบันมีการ outsource ซึ่งเป็นสิ่งดี ทำให้บริษัทเรา lean ขึ้น

เรามักสับสนระหว่างคำว่า outsource ที่เรียกทั่วไป กับ outsource ที่ต้องควบคุมตาม ISO9001

มาตรฐาน ISO ให้ความสนใจกับ กระบวนการที่ outsource แล้วมีผลกระทบต่อข้อกำหนดผลิตภัณฑ์
ทั้งสองกรณี ที่ยกตัวอย่างมา เป็นเรื่องซ่อมบำรุง เนื่องจากไม่รู้ว่าบริษัทคุณทำอะไร
ผมเดาว่ากิจกรรมซ่อมที่ยกตัวอย่างมาที่เป็นกระบวนการ outsource แต่ outsoureนี้ไม่ส่งนี้ส่งผลโดยตรง ก็จัดการตามระบบจัดซื้อปกติครับ


ข้อกำหนดเขียนอย่างนี้ครับ
ข้อกำหนดข้อ 4.1 บททั่วไปกำหนดว่า " Where an organization chooses to outsource any process that affects product conformity to requirements, the organization shall ensure control over such processes. The type and extent of control to be applied to these outsourced processes shall be defined within the quality management system..


เรามีการสั่งซื้อ สั่งจ้าง มากมาย แต่ไม่ว่าสั่งซื้อ สั่งจ้าง ต้องได้รับการควบคุมตามข้อกำหนด เรื่องการจัดซื้อ ครับ
แต่หากเป็นการสั่งจ้าง ในกระบวนการทีมีผลกระทบต่อข้อกำหนดผลิตภัณฑ์ เช่น
ให้ภายนอก ฉีดงานให้ ประกอบให้ ทำสีให้ ทดสอบให้ ........
เราต้องทำมากๆหน่อย จะตัดความรับผิดชอบไม่ได้
ดังนั้น ISO เลยบังคับ ว่า " The type and extent of control to be applied to these outsourced processes shall be defined within the quality management system.. "


อะไรบ้างเป็นกิจกรรมที่สามารถใช้ในการควบคุม outsource

การตรวจรับชิ้นงานที่สถานประกอบการผู้รับเหมาช่วง (Supplier/Outsource)
ในบางกรณีเราไม่สามารถทำการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในสถานประกอบการเราได้เช่นไม่มีพื้นที่ ไมมีเครื่องมือ แต่เราจำเป็นต้องยืนยันคุณภาพของผลผลิต การตรวจรับชิ้นงาน แต่วิธีการนีั้มีค่าใช้จ่ายสูงและต้องอาศัยบุคคลที่มีประสบการณ์

ข้อดี ข้อเสีย

ในแต่ละวิธีการ มีค่าใช้จ่าย มีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกัน เราจำเป็นต้องเลือก บางวิธี หรือรวมกันหลายวิะีให้เหมาะสมกับผู้รับเหมาช่วง (Supplier/Outsource) ในแต่ละราย

วิธีการข้อดีข้อด้อยVendor Self Assessment

  • ง่าย และสะดวก รวดเร็ว
  • สามารถใช้เป็นฐานข้อมูลขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือของผู้ข้อมูล
  • อาจมีการตีความที่แตกต่างจากผู้กรอกและผู้อ่าน
  • ไม่เหมาะสมสำหรับผู้รับเหมาช่วง ในงานที่มีความเสี่ยงสูง
การตรวจประเมิน (onsite audit )
  • ได้ข้อมูลที่ชัดเจน ครบถ้วนในประเด็นต่างๆ
  • ใช้เวลาและค่าใช้จ่ายสูง
  • ขึ้นอยู่กับกำหนดการของผู้ตรวจประเมิน
การตรวจเยี่ยมชม (onsite visit)
  • ดูสภาพทั่วไป
  • ไม่เป็นทางการ
  • ไม่แน่ว่าจะใช้ยืนยันความสามารถของผู้รับเหมาช่วง
  • ไม่เหมาะสมสำหรับผู้รับเหมาช่วง ในงานที่มีความเสี่ยงสูง
ดูสมรรถนะการทำงานในอดีต
  • ง่าย
  • อาจไม่สะท้อนถึงความสามารถในปัจจุบัน
  • ขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูล
  • ไม่เหมาะสมสำหรับผู้รับเหมาช่วง ในงานที่มีความเสี่ยงสูง
การตรวจรับ และ ชิ้นงานตัวอย่าง
  • แสดงให้เห็นถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์
  • ไม่ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
  • ไม่เหมาะสมสำหรับ ผู้รับเหมาช่วง ในงานที่มีความเสี่ยงสูง
ISO9001หรือเทียบเคียง
  • เหมาะสมในการสร้าง bench mark
  • ง่ายต่อการร้องขอผู้ส่งมอบ
  • อาจไม่ได้แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่องค์กรเราต้องการ
การตรวจสอบหน้างาน
  • เป็นการยืนยันว่าผลิตภัณฑ์มีคุณภาพตามที่กำหนด
  • ใช้เวลาและค่าใช้จ่ายสูง
  • ในบางกรณีไม่สามารถกระทำได้
  • บางผลิตภัณฑ์ไม่เหมาะสมในการใช้วฺ๊ธีนี้
อื่นๆ อีกมากมาย ..........

ลองดูคู่มือ จัดซื้อ บริหารผู้ส่งมอบ Attached File  jsahandbook16.pdf   129.65KB   1084 downloads

#4 อยากรู้(แต่ไม่อยากถาม)

อยากรู้(แต่ไม่อยากถาม)

    Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPip
  • 675 posts
  • Gender:Male

Posted 23 March 2010 - 09:16 AM

ขออนุญาตแชร์ ความคิดเห็น สักหน่อย นะครับ
สำหรับผม แล้ว ในช่วง เริ่มต้น ผมมองในส่วนของกระบวนการภายนอก ที่มีผลกระทบโดยตรงกับผลิตภัณฑ์ ก่อนเป็นอันดับแรกครับ เอาออกมาให้หมดว่า มีกระบวนการใดบ้าง
ที่ เอาพุทของกระบวนการมันกระทบ จังๆๆ กับผลิตภัณฑ์ของเรา ซึ่งตรงจุดนี้ เราต้องเน้น การควบคุม ให้ มีประสิทธิผล ควบคุมอย่างไร นั้นก็คงต้องคำนึงถึงเรื่องต่างๆ ตามที่ อ.นุกูล ยกตัวอย่าง นะครับ

เบื้องต้นผมคงทำแค่นี้ให้ดีที่สุดก่อน นะครับ ไม่งั้น การทำระบบของเรา คงจะวิตกกังวลกันน่าดู (เดียวนอนไม่หลับ)



Email: arnutprasitsuksun@yahoo.com

#5 Chatchy

Chatchy

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 186 posts
  • Gender:Male
  • Location:-
  • Interests:-

Posted 23 March 2010 - 09:46 AM

เรียนถามเพิ่มเติม

ในกระบวนการ Outsource นั้นจะต้องระบุไว้ในไหนครับ
ในคู่มือ QM หรือ ใน Procedure ขอหน่วยงานที่เกี่ยวกับ Outsource ครับ

#6 nookkrub

nookkrub

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 2 posts

Posted 23 March 2010 - 09:46 PM

ขอบคุณทุกคนครับ สำหรับคำชี้แนะที่ให้ แล้วจะนำไปปฎิบัติ

#7 Old man

Old man

    Supreme Member

  • Power Members
  • PipPipPipPip
  • 432 posts
  • Gender:Male
  • Location:BSI Group Thailand
  • Interests:No Action , Talk Only.

Posted 24 March 2010 - 07:02 PM

ในกระบวนการ Outsource นั้นจะต้องระบุไว้ในไหนครับ
ในคู่มือ QM หรือ ใน Procedure ขอหน่วยงานที่เกี่ยวกับ Outsource ครับ

มาตรฐาน ISO 9001:2008 เขียนไว้อย่างนี้ครับ

"The type and extent of control to be applied to these
outsourced processes shall be defined within the quality management system.. "

ขนิดและขอบเขตการควบคุม ต้อง มีการ define ใน QMS !

ดังนั้น เราต้องรู้ว่า define กับ ไม่ define ใน QMS ต่างกันอย่างไร

สมัยก่อน มาตรฐาน ISO9001 เขียนไว้คลุมเครือ
องค์กรเลยหนี ยันเต อ้างอันนี้นอกขอบข่าย อันนี้นอกระบบ อันนี้ไม่เกี่ยว
มาตรฐาน ISO9001:2008 เลยเขียนไว้ให้ชัดๆกันหนี
หนีไม่ได้ อ้างไม่ได้ ในการไม่ทำอะไรกับ sub

...............
เนื่องจากแต่ละองค์กรมีการพึ่งพา sub ที่มากน้อยต่างกัน
มีความเสี่ยงที่ต้องบริหารต่างกันในการใช้ sub
องค์กรไม่สามารถใช้เป็นข้ออ้างที่จะหนีการประยุกต์ใช้ข้อกำหนดของ ISO9001 ได้
แม้ว่ากิจกรรมนั้นจะใช้ SUB เป็นคนทำ !!!!
เช่นว่าจ้างให้ sub เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วน ตัวเองก็ต้องมีหน้าที่ไปควบคุมเขา
ว่าได้มีการกระทำสอดคล้องกับข้อกำหนด ISO ที่ควรจะเป็นหรือไม่ เช่น 7.5.1 , 7.5.2, ......
ส่วนจะทำอย่างไร แค่ไหน แล้วแต่กรณี !!

.................
การ define ในระบบ อาจหมายถึง
1. มีระเบียบบังคับซึ่งเป็นเอกสารควบคุม ว่าบริษัทคุณ เมื่อมี sub แต่ละชนิดจะจัดการอย่างไร ใครเป็นคนรับผิดชอบ (ในอุตสาหกรรมยานยนต์มีคู่มือสำหรับ sub ด้วยซ้ำไป)
2. มีกำหนดอยู่ในบันทึกการประชุมสรุปว่า กระบวนการใด outsorce ใครเป็นคนดูแล รับผิดชอบอยู่
3. มีกำหนดไว้ใน Q Plan, กำหนดไว้ในบันทึกการทบทวนฝ่ายบริหาร ?? , กำหนดไว้ในบันทึกของ .....
4. มีกำหนดไว้ในเอกสาร สั่งจ้าง ว่า sub ต้องทำอะไร ต้องมีอะไร ต้องส่งอะไร
5. มีกำหนดในแผนของบริษัท ไม่ว่า แผนพัฒนา sub, แผน ตรวจประเมิน sub ,แผนอบรม sub
6. เอกสารที่เราส่งให้ sub ปฏิบัติตามเป็นเอกสารในระบบ ใน job ที่ต้องควบคุม
7. อาจเป็นเอกสาร A4 หน้าเดียว ที่กำหนดว่า มี process อะไรที่ outsource ใครเป็นผู้รับผิดชอบ และมาตรการในการควบคุม โดยเอกสารนี้เป็นเอกสาร/แบบฟอร็มในระบบ QMS
8. มีการพูดคุยเรื่อง sub ในการทบทวนฝ่ายบริหาร หรือ การบริหารการผลิต , มีการควบคุม KPI ของ sub และ อื่นๆ อีกมากมาย ...

สรุป ตราบใด ที่สิ่งที่คุณทำได้รับการบันทึก ได้มีการระบุในนเอกสาร ที่เป็นส่วนหนึ่งของ QMS
ตราบนั้นคุณได้ define in QMS แล้วครับ

ประเด็นคือ คุณต้องบริหาร SUB อย่างเหมาะสม ไม่ว่าคุณจะใช้วิธีการใดก็ตาม
ขอเพียงคุณมีการบริหารจัดการกับ SUB อย่างเป็นเรื่องเป็นราว และตระหนักว่าคุณหนีความรับผิดชอบไม่ได้ในการแสดงหลักฐาน ก็มักไม่มีอะไรต้องห่วงหรอกครับ

ข้อกำหนดเพียงให้อำนาจผู้ตรวจประเมินสามารถ หาเรื่อง (ตรวจ) และ สามารถออก CARs ให้คุณได้
หากเขาคิดว่าวิธีการที่คุณใช้ในการบริหาร sub ที่เป็นอยู่ไม่มีประสิทธิผล
ซึ่งคุณต้องพิสูจน์ว่า วิธีการของคุณที่ใช้เหมาะสมในการบริหารความเสี่ยงกับ SUB นั้นๆ
พูดง่าย แต่ทำอยาก ว่ามั้ย ....


#8 yothin555

yothin555

    Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPip
  • 623 posts

Posted 25 March 2010 - 09:04 AM

ขอบคุณทุกท่านมากครับ

#9 QMRTrod

QMRTrod

    New Member

  • Members
  • Pip
  • 28 posts

Posted 22 April 2010 - 02:29 PM

QUOTE(Old man @ Mar 23 2010, 08:50 AM) <{POST_SNAPBACK}>
องค์กรในปัจจุบันมีการ outsource ซึ่งเป็นสิ่งดี ทำให้บริษัทเรา lean ขึ้น

เรามักสับสนระหว่างคำว่า outsource ที่เรียกทั่วไป กับ outsource ที่ต้องควบคุมตาม ISO9001

มาตรฐาน ISO ให้ความสนใจกับ กระบวนการที่ outsource แล้วมีผลกระทบต่อข้อกำหนดผลิตภัณฑ์
ทั้งสองกรณี ที่ยกตัวอย่างมา เป็นเรื่องซ่อมบำรุง เนื่องจากไม่รู้ว่าบริษัทคุณทำอะไร
ผมเดาว่ากิจกรรมซ่อมที่ยกตัวอย่างมาที่เป็นกระบวนการ outsource แต่ outsoureนี้ไม่ส่งนี้ส่งผลโดยตรง ก็จัดการตามระบบจัดซื้อปกติครับ


ข้อกำหนดเขียนอย่างนี้ครับ
ข้อกำหนดข้อ 4.1 บททั่วไปกำหนดว่า " Where an organization chooses to outsource any process that affects product conformity to requirements, the organization shall ensure control over such processes. The type and extent of control to be applied to these outsourced processes shall be defined within the quality management system..


เรามีการสั่งซื้อ สั่งจ้าง มากมาย แต่ไม่ว่าสั่งซื้อ สั่งจ้าง ต้องได้รับการควบคุมตามข้อกำหนด เรื่องการจัดซื้อ ครับ
แต่หากเป็นการสั่งจ้าง ในกระบวนการทีมีผลกระทบต่อข้อกำหนดผลิตภัณฑ์ เช่น
ให้ภายนอก ฉีดงานให้ ประกอบให้ ทำสีให้ ทดสอบให้ ........
เราต้องทำมากๆหน่อย จะตัดความรับผิดชอบไม่ได้
ดังนั้น ISO เลยบังคับ ว่า " The type and extent of control to be applied to these outsourced processes shall be defined within the quality management system.. "


อะไรบ้างเป็นกิจกรรมที่สามารถใช้ในการควบคุม outsource

การตรวจรับชิ้นงานที่สถานประกอบการผู้รับเหมาช่วง (Supplier/Outsource)
ในบางกรณีเราไม่สามารถทำการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในสถานประกอบการเราได้เช่นไม่มีพื้นที่ ไมมีเครื่องมือ แต่เราจำเป็นต้องยืนยันคุณภาพของผลผลิต การตรวจรับชิ้นงาน แต่วิธีการนีั้มีค่าใช้จ่ายสูงและต้องอาศัยบุคคลที่มีประสบการณ์

ข้อดี ข้อเสีย

ในแต่ละวิธีการ มีค่าใช้จ่าย มีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกัน เราจำเป็นต้องเลือก บางวิธี หรือรวมกันหลายวิะีให้เหมาะสมกับผู้รับเหมาช่วง (Supplier/Outsource) ในแต่ละราย

วิธีการข้อดีข้อด้อยVendor Self Assessment

  • ง่าย และสะดวก รวดเร็ว
  • สามารถใช้เป็นฐานข้อมูลขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือของผู้ข้อมูล
  • อาจมีการตีความที่แตกต่างจากผู้กรอกและผู้อ่าน
  • ไม่เหมาะสมสำหรับผู้รับเหมาช่วง ในงานที่มีความเสี่ยงสูง
การตรวจประเมิน (onsite audit )
  • ได้ข้อมูลที่ชัดเจน ครบถ้วนในประเด็นต่างๆ
  • ใช้เวลาและค่าใช้จ่ายสูง
  • ขึ้นอยู่กับกำหนดการของผู้ตรวจประเมิน
การตรวจเยี่ยมชม (onsite visit)
  • ดูสภาพทั่วไป
  • ไม่เป็นทางการ
  • ไม่แน่ว่าจะใช้ยืนยันความสามารถของผู้รับเหมาช่วง
  • ไม่เหมาะสมสำหรับผู้รับเหมาช่วง ในงานที่มีความเสี่ยงสูง
ดูสมรรถนะการทำงานในอดีต
  • ง่าย
  • อาจไม่สะท้อนถึงความสามารถในปัจจุบัน
  • ขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูล
  • ไม่เหมาะสมสำหรับผู้รับเหมาช่วง ในงานที่มีความเสี่ยงสูง
การตรวจรับ และ ชิ้นงานตัวอย่าง
  • แสดงให้เห็นถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์
  • ไม่ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
  • ไม่เหมาะสมสำหรับ ผู้รับเหมาช่วง ในงานที่มีความเสี่ยงสูง
ISO9001หรือเทียบเคียง
  • เหมาะสมในการสร้าง bench mark
  • ง่ายต่อการร้องขอผู้ส่งมอบ
  • อาจไม่ได้แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่องค์กรเราต้องการ
การตรวจสอบหน้างาน
  • เป็นการยืนยันว่าผลิตภัณฑ์มีคุณภาพตามที่กำหนด
  • ใช้เวลาและค่าใช้จ่ายสูง
  • ในบางกรณีไม่สามารถกระทำได้
  • บางผลิตภัณฑ์ไม่เหมาะสมในการใช้วฺ๊ธีนี้
อื่นๆ อีกมากมาย ..........

ลองดูคู่มือ จัดซื้อ บริหารผู้ส่งมอบ Attached File  jsahandbook16.pdf   129.65KB   1084 downloads





ขอบคุณค่ะ มือใหม่ เอ๋อๆหน่อยๆ


#10 Mr.Ahero

Mr.Ahero

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 142 posts
  • Gender:Male

Posted 25 May 2010 - 05:52 PM

QUOTE(นุกูล @ Mar 23 2010, 03:53 AM) <{POST_SNAPBACK}>
จริงๆแล้วถือว่าเป็น Outsource Process ทั้งหมดครับ
แต่มาตรฐานไม่ได้บอกน่ะครับ ว่าต้องควบคุมทั้งหมด เขาให้พิจารณาว่า Outsource Process ใดๆ ที่มีผลกระทบไปถึงความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์
ต้องได้รับการควบคุม การควบคุมก็ไม่จำเป็นต้องทำด้วยวิธีการ ความถี่ หรือระดับความเข้มงวดเดียวกัน เขาให้พิจารณาตามระดับความรุนแรงของผลกระทบ (ดู 4.1 ต่อ)

ดังนั้น

เราต้องระบุออกมาครับ ว่าเรามี Outsource Process อะไรบ้าง
Outsource Process ไหนบ้าง ที่มีผลกระทบ และ ไม่มีผลกระทบ
รายที่มีผลกระทบ ระดับความรุนแรงมันมากน้อยขนาดไหน (H M L)
กำหนดวิธีการควบคุมตามความเหมาะสม (การประเมินเพื่อคัดเลือก การประเมินซ้ำ การตรวจรับ การรับรองกระบวนการ การ Audit การร้องขอให้ Certify ระบบ ฯลฯ)

ยกตัวอย่างน่ะ
Outsource ที่รับจ้างลับใบมีด คุณว่ามีผลกระทบไปถึงความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์ไหม เขาอาจทำให้งานเราไม่ได้ตาม Spec ไหม เช่น ทำให้เกิด ครีบคมตัด ได้ไหม
แล้ว เราคิดว่าควรจะควบคุมเขาไหม

Outsource ที่รับจ้าง Maintenance เครื่องถ่ายเอกสาร จัดว่าเป็น Outsource ไหม แล้ว มีผลกระทบไหม แล้วคิดว่า เราต้องควบคุมเขาไหม

ในการทำงานจริงเราใช้ Outsource เยอะครับ แต่บางงาน ไม่ต้องควบคุมก็ได้ หรือ ค่อยนำมาควบคุมหลังจากรายหลักๆ Perfect แล้วก็ได้ครับ

ลองดูครับ


จริงๆ แล้วใน ISO ได้มีการนิยาม Outsorce process ไว้เป็น Guide อยู่นะครับ ลองดูใน Link :http://www.iso.org/iso/iso_catalogue/management_standards/iso_9000_iso_14000/iso_9001_2008/guidance_on_outsourced_processes.htm

ที่มา ISO/TC 176/SC 2/N 630R3

แต่ สุดท้ายจริงๆ อยุ๋ที่เรา แต่ละองค์กร ให้ความสำคัญ พร้อมกับนิยามว่าจะให้ Outsoure เป็นใครบ้างครับ แล้วกำหนดวิธีการควบคุมอะไรก็ได้ที่ทำให้มั่นใจว่า Outsource ที่เรากำหนด จะสามารถดำเนินการได้สอดคล้องกับข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ได้ทั้งหมด รวมถึงของลูกค้าเราด้วย โดย Wight น้ำหนักถึงผลกระทบต่อข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์น่ะครับ เน้น "ข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์" นะครับ ไม่ใช่ "ข้อกำหนดทางด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์" ก็อย่างที่ทราบ V2008 เค้าเปลี่ยนให้ครอบคลุมมากขึ้น ด้วยค่อยต่อนะครับ


#11 Mr.Ahero

Mr.Ahero

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 142 posts
  • Gender:Male

Posted 25 May 2010 - 05:57 PM

QUOTE(nookkrub @ Mar 22 2010, 06:40 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ในเรื่องของการระบุ Outsourced Process พอจะทราบคร่าว ๆ แล้วว่า ถ้าองค์กรมีกระบวนการที่จำเป็นต้องทำสำหรับ QMS แต่ใช้หน่วยงานภายนอก ไม่ว่าทั้งองค์มีความถนัดใน Process นั้น ๆ หรือไม่ถนัดก็ตาม ต้องระบุออกมาเป็น Outsourced Process เช่น กระบวนการผลิต กระบวนการสอบเทียบ กระบวนการตรวจสอบ/ทดสอบ กระบวนจัดเก็บสินค้า และอื่น ๆ อีกมากมาย
แต่สงสัยนิดหนึ่งครับในกระบวนการซ่อมบำรุงนั้น ถ้าเป็นการให้เข้ามา บำรุงรักษาเครื่องจักร มอเตอร์, โฟลค์ลิฟท์เช่น ถ่ายน้ำมันเครื่อง ถือว่าเป็น Outsourced Process ในกิจกรรมซ่อมบำรุง แต่ถ้าหน่วยงานภายนอกรายนั้นเข้ามาซ่อมเครื่องจักร เช่น Mainboard ของเครื่องควบคุมอุณหภูมิเสีย หรือ ส่งมอเตอร์ไปซ่อมโดยพันขดลวดใหม่ หรือ ส่งใบมีด Cutter ไปให้ร้านข้างนอกรับคมใบมีด หรือ ส่งสกรูของเครื่องจักรไปกลึงใหม่เนื่องจากเกิดการบิดตัว อย่างนี้ถือว่าเป็น Outsourced Process หรือเปล่าครับ


รบกวนผู้รู้ช่วยให้ความกระจ่างด้วยครับ

ขอบคุณครับ
nookkrub


จริงๆ แล้วใน ISO ได้มีการนิยาม Outsorce process ไว้เป็น Guide อยู่นะครับ ลองดูใน Link :http://www.iso.org/iso/iso_catalogue/management_standards/iso_9000_iso_14000/iso_9001_2008/guidance_on_outsourced_processes.htm

ที่มา ISO/TC 176/SC 2/N 630R3

แต่ สุดท้ายจริงๆ อยุ๋ที่เรา แต่ละองค์กร ให้ความสำคัญ พร้อมกับนิยามว่าจะให้ Outsoure เป็นใครบ้างครับ แล้วกำหนดวิธีการควบคุมอะไรก็ได้ที่ทำให้มั่นใจว่า Outsource ที่เรากำหนด จะสามารถดำเนินการได้สอดคล้องกับข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ได้ทั้งหมด รวมถึงของลูกค้าเราด้วย โดย Wight น้ำหนักถึงผลกระทบต่อข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์น่ะครับ เน้น "ข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์" นะครับ ไม่ใช่ "ข้อกำหนดทางด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์" ก็อย่างที่ทราบ V2008 เค้าเปลี่ยนให้ครอบคลุมมากขึ้น ด้วยค่อยต่อนะครับ


#12 Mr.Ahero

Mr.Ahero

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 142 posts
  • Gender:Male

Posted 25 May 2010 - 06:00 PM

จริงๆ แล้วใน ISO ได้มีการนิยาม Outsorce process ไว้เป็น Guide อยู่นะครับ ลองดูใน Link :http://www.iso.org/iso/iso_catalogue/management_standards/iso_9000_iso_14000/iso_9001_2008/guidance_on_outsourced_processes.htm

ที่มา ISO/TC 176/SC 2/N 630R3

แต่ สุดท้ายจริงๆ อยุ๋ที่เรา แต่ละองค์กร ให้ความสำคัญ พร้อมกับนิยามว่าจะให้ Outsoure เป็นใครบ้างครับ แล้วกำหนดวิธีการควบคุมอะไรก็ได้ที่ทำให้มั่นใจว่า Outsource ที่เรากำหนด จะสามารถดำเนินการได้สอดคล้องกับข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ได้ทั้งหมด รวมถึงของลูกค้าเราด้วย โดย Wight น้ำหนักถึงผลกระทบต่อข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์น่ะครับ เน้น "ข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์" นะครับ ไม่ใช่ "ข้อกำหนดทางด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์" ก็อย่างที่ทราบ V2008 เค้าเปลี่ยนให้ครอบคลุมมากขึ้น ด้วยค่อยต่อนะครับ


#13 Mr.Ahero

Mr.Ahero

    Premium Member

  • Power Members
  • PipPipPip
  • 142 posts
  • Gender:Male

Posted 25 May 2010 - 06:07 PM

QUOTE(nookkrub @ Mar 22 2010, 06:40 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ในเรื่องของการระบุ Outsourced Process พอจะทราบคร่าว ๆ แล้วว่า ถ้าองค์กรมีกระบวนการที่จำเป็นต้องทำสำหรับ QMS แต่ใช้หน่วยงานภายนอก ไม่ว่าทั้งองค์มีความถนัดใน Process นั้น ๆ หรือไม่ถนัดก็ตาม ต้องระบุออกมาเป็น Outsourced Process เช่น กระบวนการผลิต กระบวนการสอบเทียบ กระบวนการตรวจสอบ/ทดสอบ กระบวนจัดเก็บสินค้า และอื่น ๆ อีกมากมาย
แต่สงสัยนิดหนึ่งครับในกระบวนการซ่อมบำรุงนั้น ถ้าเป็นการให้เข้ามา บำรุงรักษาเครื่องจักร มอเตอร์, โฟลค์ลิฟท์เช่น ถ่ายน้ำมันเครื่อง ถือว่าเป็น Outsourced Process ในกิจกรรมซ่อมบำรุง แต่ถ้าหน่วยงานภายนอกรายนั้นเข้ามาซ่อมเครื่องจักร เช่น Mainboard ของเครื่องควบคุมอุณหภูมิเสีย หรือ ส่งมอเตอร์ไปซ่อมโดยพันขดลวดใหม่ หรือ ส่งใบมีด Cutter ไปให้ร้านข้างนอกรับคมใบมีด หรือ ส่งสกรูของเครื่องจักรไปกลึงใหม่เนื่องจากเกิดการบิดตัว อย่างนี้ถือว่าเป็น Outsourced Process หรือเปล่าครับ


รบกวนผู้รู้ช่วยให้ความกระจ่างด้วยครับ

ขอบคุณครับ
nookkrub

จริงๆ แล้วใน ISO ได้มีการนิยาม Outsorce process ไว้เป็น Guide อยู่นะครับ ลองดูใน Link :http://www.iso.org/iso/iso_catalogue/management_standards/iso_9000_iso_14000/iso_9001_2008/guidance_on_outsourced_processes.htm

ที่มา ISO/TC 176/SC 2/N 630R3

แต่ สุดท้ายจริงๆ อยุ๋ที่เรา แต่ละองค์กร ให้ความสำคัญ พร้อมกับนิยามว่าจะให้ Outsoure เป็นใครบ้างครับ แล้วกำหนดวิธีการควบคุมอะไรก็ได้ที่ทำให้มั่นใจว่า Outsource ที่เรากำหนด จะสามารถดำเนินการได้สอดคล้องกับข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ได้ทั้งหมด รวมถึงของลูกค้าเราด้วย โดย Wight น้ำหนักถึงผลกระทบต่อข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์น่ะครับ เน้น "ข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์" นะครับ ไม่ใช่ "ข้อกำหนดทางด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์" ก็อย่างที่ทราบ V2008 เค้าเปลี่ยนให้ครอบคลุมมากขึ้น ด้วยค่อยต่อนะครับ


#14 stormriders

stormriders

    Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPip
  • 919 posts

Posted 01 July 2010 - 06:56 PM

ความรู้มากมายจัง ขอบคุณมากๆๆ ครับ

#15 ประพนวิทย์

ประพนวิทย์

    Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPip
  • 679 posts
  • Gender:Female

Posted 12 July 2010 - 07:15 PM

ขอบคณมากคะ


#16 DCC

DCC

    Super Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPipPip
  • 1,024 posts

Posted 13 July 2010 - 08:42 AM

ขอบคุณมากค่ะ
4228.gif

#17 o-ple

o-ple

    Hornor Member

  • Super Power Members
  • PipPipPipPipPip
  • 599 posts

Posted 13 July 2010 - 11:38 AM

Thank you ka.




0 user(s) are reading this topic

0 members, 0 guests, 0 anonymous users