ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

ขอตัวอย่างการคำนวณความพึงพอใจ
#21
Posted 23 October 2009 - 08:12 AM
ขอบคุณครับ
#22
Posted 23 October 2009 - 09:31 AM

#23
Posted 23 October 2009 - 01:53 PM
#24
Posted 23 October 2009 - 02:21 PM
jjjj_fon@hotmail.com
[/quote]
Attached Files
#25
Posted 03 November 2009 - 09:05 AM
ขอบคุณจ้า!!!
#26
Posted 04 November 2009 - 04:37 PM


#27
Posted 17 February 2010 - 09:39 AM
#28
Posted 18 March 2010 - 01:58 PM
#29
Posted 18 March 2010 - 02:31 PM
ไม่เข้าใจตรงไหนก็เข้ามาถามต่อได้ (แค่ตัวอย่างหรือแนวทางเท่านั้นน่ะ)
ขั้นตอนหลักๆ
1.กำหนดเป้าหมาย KPI ว่าเท่าไหร่ถึงจะผ่าน เช่น มากกว่าหรือเท่ากับ 80%
2.สำรวจ (Fax, E-mail, เข้าไปพบ , สรุปจากการ Claim + Complaint เลือกเอาว่าจะใช้วิธีใดบ้าง)
3.สรุปผลที่ได้แต่ละราย ว่าประเมินให้เรามาคิดเป็นกี่ %
4.สรุปผลเฉลี่ย โดยนำ % ที่ได้แต่ละรายมารวมกัน แล้วหารด้วยจำนวนลูกค้าที่ประเมินมา
5.เทียบกับข้อ 1 ว่า ได้ตามเป้า พอดีกับเป้า หรือต่ำกว่าเป้า โดยที่ ควรจะสรุปเพิ่มเติมด้วยว่า
ข้อที่ได้คะแนนต่ำสุดคือเรื่องอะไร ใครรับผิดชอบ สาเหตุเพราะอะไร (สิ่งที่ลูกค้า Comment) จะแก้ไข และป้องกันอย่างไรบ้าง
คร่าวๆน่ะครับ เอาไปเป็นแนวทางก่อนแล้วกันน่อ
ขอบคุณค่ะ
#30
Posted 25 March 2010 - 08:52 AM
มาตรฐาน ISO ให้ทำการ monitor customer perception ไม่เน้นที่ การ measurement customer satisfaction
มีความหมายต่างกันมาก ในสิ่งที่ ISO 9001 ต้องการ ระหว่าง สอง ประโยคนี้
..............................
การประเมินความพึงพอใจ สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องคำนวณ นะคะ
เพราะหากใช้การคำนวณ จะเป็นการ measurement
แต่ละที่ต่างกัน
การคำนวณ มีทั้งข้อดี ข้อเสีย
เพราะจริงๆแล้ว เราต้องการหาจุดแข็ง จุดออ่น สำหรับองค์กรเราในสายตาลูกค้า
หรือ กล่าวได้ว่าเราต้องการรู้ว่าลูกค้าคิดอะไรกับเรา
สิ่งที่อยู๋ในใจ เป็นความรู้สึก ไม่อาจคาดคำนวณเป็นตัวเลขหรอก.
และเวลาเราพอใจอะไร เรารักชอบอะไร มักไม่ค่อยมีเหตุผลหรอก จริงมั้ย .
ลูกค้าก็เข่นกัน
แต่การคำนวณอาจจำเป็น
ในกรณีที่คุณมีลูกค้าจำนวนมากๆ เป็นการจับข้อมูลลูกค้า มาเปรียบเทียบ
เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ
เหมือนกับการทำวิจัยลูกค้า
ใช่ เป็นการวิจัยลูกค้า
เพื่อตอบคำถามว่า
ลูกค้าส่วนมากชอบอะไร หรือ ไม่ชอบอะไร
ลูกค้ากลุ่มไหน รักอะไร ไม่รักอะไร
ลูกค้าส่วนมาก/กลุ่ม ต้องการอยากให้เรา ทำอะไร ....
มีอะไรที่ลูกค้าส่วนมากขัดข้องหมองใจ
ทำไม ลูกค้ากลุ่มนี้ จึงคิดอย่างนั้น จึงคิดอย่างนี้
เพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุงองค์กร
ไม่ใช่ ได้คะแนน > 85 จบ.
เรารักใคร เรามักบอกว่ารักเท่าฟ้า ไม่เห็นบอกว่ารักคะแนนเต็มสิบซักหน่อย
จะบอกเต็มร้อย ก็ยังไม่ได้ใจ มันไม่ใช่
หากใครเคยเจอแฟนบอกว่า เราเลิกกันเหอะ เพราะเธอดีเกินไป
จะรู้ว่าสิ่งที่อยู๋ในใจ และ การทำให้พอใจนั้นมันลึกซึ้งสุดพรรณา
แค่บอกว่าได้คะแนนรวมๆ > 85 แล้ว จบ ไม่จบหรอก เพราะคุณยังไม่ได้ข้อมูลเพื่อปรับปรุงองค์กรเลย
จริงๆแล้วหากเป็นโรงงาน หรือ OEM
มีข้อมูลมากมายที่ลูกค้าบอกเราโดยเราไม่เราไม่ต้องไปถาม ไม่ต้องสำรวจ ครับ !
หากคุณมีลูกค้า ทำธุรกิจประจำ 2-3 ราย
แต่แค่ทำการสำรวจโดยการส่ง FAX ปี่ละครั้ง
แล้วอ้างบอกว่า นี่แหละ ISO สั่งให้ทำแบบนี้
อย่าบอกว่า เอาวิธีการมาจาก isothai นะ อายเขา
เราอาจเข้าใจ เจตนารมณ์ เรื่องความพึงพอใจลูกค้า นี้ผิดๆ (ซึ่งมากซะด้วย) ไม่ดีเลยครับ
ใครไม่เข้าใจเรื่อง นี้ ให้ไปดุหนัง " october sonata รักที่รอคอย "
แล้วจะเข้าใจ ว่า ความพึงพอใจ นี่วัดไม่ได้
และไม่มีเหตุผลซะจริงๆๆ
#31
Posted 25 March 2010 - 09:30 AM
#32
Posted 28 May 2010 - 03:41 PM
#33
Posted 28 May 2010 - 04:07 PM
ขอบคุณครับ
#34
Posted 29 July 2010 - 05:01 PM
#35
Posted 29 July 2010 - 05:34 PM
ขอบคุณมากมากค่ะ

#36
Posted 20 September 2010 - 02:04 PM
#37
Posted 14 December 2010 - 04:19 PM
#38
Posted 16 March 2011 - 03:13 PM
#39
Posted 14 May 2011 - 02:42 PM
มาตรฐาน ISO ให้ทำการ monitor customer perception ไม่เน้นที่ การ measurement customer satisfaction
มีความหมายต่างกันมาก ในสิ่งที่ ISO 9001 ต้องการ ระหว่าง สอง ประโยคนี้
..............................
การประเมินความพึงพอใจ สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องคำนวณ นะคะ
เพราะหากใช้การคำนวณ จะเป็นการ measurement
แต่ละที่ต่างกัน
การคำนวณ มีทั้งข้อดี ข้อเสีย
เพราะจริงๆแล้ว เราต้องการหาจุดแข็ง จุดออ่น สำหรับองค์กรเราในสายตาลูกค้า
หรือ กล่าวได้ว่าเราต้องการรู้ว่าลูกค้าคิดอะไรกับเรา
สิ่งที่อยู๋ในใจ เป็นความรู้สึก ไม่อาจคาดคำนวณเป็นตัวเลขหรอก.
และเวลาเราพอใจอะไร เรารักชอบอะไร มักไม่ค่อยมีเหตุผลหรอก จริงมั้ย .
ลูกค้าก็เข่นกัน
แต่การคำนวณอาจจำเป็น
ในกรณีที่คุณมีลูกค้าจำนวนมากๆ เป็นการจับข้อมูลลูกค้า มาเปรียบเทียบ
เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ
เหมือนกับการทำวิจัยลูกค้า
ใช่ เป็นการวิจัยลูกค้า
เพื่อตอบคำถามว่า
ลูกค้าส่วนมากชอบอะไร หรือ ไม่ชอบอะไร
ลูกค้ากลุ่มไหน รักอะไร ไม่รักอะไร
ลูกค้าส่วนมาก/กลุ่ม ต้องการอยากให้เรา ทำอะไร ....
มีอะไรที่ลูกค้าส่วนมากขัดข้องหมองใจ
ทำไม ลูกค้ากลุ่มนี้ จึงคิดอย่างนั้น จึงคิดอย่างนี้
เพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุงองค์กร
ไม่ใช่ ได้คะแนน > 85 จบ.
เรารักใคร เรามักบอกว่ารักเท่าฟ้า ไม่เห็นบอกว่ารักคะแนนเต็มสิบซักหน่อย
จะบอกเต็มร้อย ก็ยังไม่ได้ใจ มันไม่ใช่
หากใครเคยเจอแฟนบอกว่า เราเลิกกันเหอะ เพราะเธอดีเกินไป
จะรู้ว่าสิ่งที่อยู๋ในใจ และ การทำให้พอใจนั้นมันลึกซึ้งสุดพรรณา
แค่บอกว่าได้คะแนนรวมๆ > 85 แล้ว จบ ไม่จบหรอก เพราะคุณยังไม่ได้ข้อมูลเพื่อปรับปรุงองค์กรเลย
จริงๆแล้วหากเป็นโรงงาน หรือ OEM
มีข้อมูลมากมายที่ลูกค้าบอกเราโดยเราไม่เราไม่ต้องไปถาม ไม่ต้องสำรวจ ครับ !
หากคุณมีลูกค้า ทำธุรกิจประจำ 2-3 ราย
แต่แค่ทำการสำรวจโดยการส่ง FAX ปี่ละครั้ง
แล้วอ้างบอกว่า นี่แหละ ISO สั่งให้ทำแบบนี้
อย่าบอกว่า เอาวิธีการมาจาก isothai นะ อายเขา
เราอาจเข้าใจ เจตนารมณ์ เรื่องความพึงพอใจลูกค้า นี้ผิดๆ (ซึ่งมากซะด้วย) ไม่ดีเลยครับ
ใครไม่เข้าใจเรื่อง นี้ ให้ไปดุหนัง " october sonata รักที่รอคอย "
แล้วจะเข้าใจ ว่า ความพึงพอใจ นี่วัดไม่ได้
และไม่มีเหตุผลซะจริงๆๆ
...........ชอบมากครับ โดยเฉพาะ ข้อความ ใน ปล. "คนจะเรียนรู้ต่อเมื่อ คนรู้ว่าเขาไม่รู้อะไร"
โดนใจจิงๆ
...................................
maruta_printpack
#40
Posted 24 May 2011 - 04:44 PM
0 user(s) are reading this topic
0 members, 0 guests, 0 anonymous users