อยากทราบเรื่องอุณหภูมิที่ใช้ในการฆ่าเชื้อโรคอะครับ อุณหภูมิเท่าไร นานแค่ไหน ถึงจะทำลายเชื้อได้หมดครับ
ที่โรงงานผลิตถาดพลาสติกบรรจุอาหาร auditor มาตรวจอยากให้จุดที่ให้ความร้อนพลาสติกเป็นจุดฆ่าเชื้อโรคนะครับ
ประเด็นก็คือ ผมไม่รู้ว่า อุณภูมิเท่าไร และนานแค่ไหนเชื้อโรคทั้งหมดถึงจะตายหมด (มีเอกสารอะไรใช้อ้างอิงได้บ้างครับ)
ตอนนี้อุณหภูมิที่ใช้อยู่ประมาณ 200 C นาน 6 วินาที ผมสามารถฟันธงได้หรือไม่ว่าเชื้อโรคตายหมดแล้ว เพราะปกติแค่ต้มน้ำให้เดือดก็ถือว่าเชื้อตายหมด
(งงคำถามกันหรือป่าวครับ)
ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com

ความร้อนในการฆ่าเชื้อโรค
Started by
Junovsky
, May 06 2011 05:32 PM
7 replies to this topic
#1
Posted 06 May 2011 - 05:32 PM
#2
Posted 06 May 2011 - 07:30 PM
QUOTE(Junovsky @ May 6 2011, 05:32 PM) <{POST_SNAPBACK}>
อยากทราบเรื่องอุณหภูมิที่ใช้ในการฆ่าเชื้อโรคอะครับ อุณหภูมิเท่าไร นานแค่ไหน ถึงจะทำลายเชื้อได้หมดครับ
ที่โรงงานผลิตถาดพลาสติกบรรจุอาหาร auditor มาตรวจอยากให้จุดที่ให้ความร้อนพลาสติกเป็นจุดฆ่าเชื้อโรคนะครับ
ประเด็นก็คือ ผมไม่รู้ว่า อุณภูมิเท่าไร และนานแค่ไหนเชื้อโรคทั้งหมดถึงจะตายหมด (มีเอกสารอะไรใช้อ้างอิงได้บ้างครับ)
ตอนนี้อุณหภูมิที่ใช้อยู่ประมาณ 200 C นาน 6 วินาที ผมสามารถฟันธงได้หรือไม่ว่าเชื้อโรคตายหมดแล้ว เพราะปกติแค่ต้มน้ำให้เดือดก็ถือว่าเชื้อตายหมด
(งงคำถามกันหรือป่าวครับ)
ที่โรงงานผลิตถาดพลาสติกบรรจุอาหาร auditor มาตรวจอยากให้จุดที่ให้ความร้อนพลาสติกเป็นจุดฆ่าเชื้อโรคนะครับ
ประเด็นก็คือ ผมไม่รู้ว่า อุณภูมิเท่าไร และนานแค่ไหนเชื้อโรคทั้งหมดถึงจะตายหมด (มีเอกสารอะไรใช้อ้างอิงได้บ้างครับ)
ตอนนี้อุณหภูมิที่ใช้อยู่ประมาณ 200 C นาน 6 วินาที ผมสามารถฟันธงได้หรือไม่ว่าเชื้อโรคตายหมดแล้ว เพราะปกติแค่ต้มน้ำให้เดือดก็ถือว่าเชื้อตายหมด
(งงคำถามกันหรือป่าวครับ)
Auditor ของ CB เจ้าไหนครับ อยากพูดคุยด้วยจัง
เบื้องต้นผมแนะนำให้ไปซื้อหนังสือ Food Microbiology ของท่านอาจารย์จากมหาวิทยาลัยไหนก็ได้ครับ
นำมาขึ้นทะเบียนเป็น Reference Document เราสามารถอ้างอิงข้อมูลทางวิชาการเรื่อง Pathogenic Bacteria
มาเป็นเกณฑ์ที่แสดงว่า Process การขึ้นรูปสินค้าของคุณ ไม่สามารถทำให้เชื้อจุลินทรีย์ที่อาจปนเปื้อนอยู่ มีเหลือรอดได้ครับ
อนุสรณ์ 086-996087
#3
Posted 07 May 2011 - 01:01 AM
พี่โอ๋ครับ
ขอถามเพื่อเป็นความรู้ครับ ถ้าเราจะทำการ Validate โดยนำชิ้นงานที่ใช้อุณหภูมิประมาณ 200 C นาน 6 วินาที จากนั้นส่ง Lab micro เพื่อเช็คเชื้อว่ามีหรือไม่มีเชื้อ เพื่อนำมาเป็น Referance ได้ไหมครับ แล้วเราก็จะไม่อ้างอิงทฤษฎีตาม Food Microbiology ด้วยครับ Auditor จะพอรับเหตุผลนี้ได้ไหมครับ
ขอถามเพื่อเป็นความรู้ครับ ถ้าเราจะทำการ Validate โดยนำชิ้นงานที่ใช้อุณหภูมิประมาณ 200 C นาน 6 วินาที จากนั้นส่ง Lab micro เพื่อเช็คเชื้อว่ามีหรือไม่มีเชื้อ เพื่อนำมาเป็น Referance ได้ไหมครับ แล้วเราก็จะไม่อ้างอิงทฤษฎีตาม Food Microbiology ด้วยครับ Auditor จะพอรับเหตุผลนี้ได้ไหมครับ
"ในโลกนี้ไม่มีคนแปลกหน้าสำหรับเรา มีแต่เพื่อนที่เรายังไม่ได้พบกันเท่านั้น"
E-mail suppadej@gmail.com
#4
Posted 07 May 2011 - 06:05 AM
QUOTE(Suppadej @ May 7 2011, 01:01 AM) <{POST_SNAPBACK}>
พี่โอ๋ครับ
ขอถามเพื่อเป็นความรู้ครับ ถ้าเราจะทำการ Validate โดยนำชิ้นงานที่ใช้อุณหภูมิประมาณ 200 C นาน 6 วินาที จากนั้นส่ง Lab micro เพื่อเช็คเชื้อว่ามีหรือไม่มีเชื้อ เพื่อนำมาเป็น Referance ได้ไหมครับ แล้วเราก็จะไม่อ้างอิงทฤษฎีตาม Food Microbiology ด้วยครับ Auditor จะพอรับเหตุผลนี้ได้ไหมครับ
ขอถามเพื่อเป็นความรู้ครับ ถ้าเราจะทำการ Validate โดยนำชิ้นงานที่ใช้อุณหภูมิประมาณ 200 C นาน 6 วินาที จากนั้นส่ง Lab micro เพื่อเช็คเชื้อว่ามีหรือไม่มีเชื้อ เพื่อนำมาเป็น Referance ได้ไหมครับ แล้วเราก็จะไม่อ้างอิงทฤษฎีตาม Food Microbiology ด้วยครับ Auditor จะพอรับเหตุผลนี้ได้ไหมครับ
ก็เป็นอีกวิธีที่ทำได้ครับ
เพราะข้อมูลการทดลองก็เป็นหนึ่งในการ Valiadtion เพื่อพิสูจน์ยืนยันความใช้ได้ครับ
#5
Posted 07 May 2011 - 11:34 AM
QUOTE(Food Safety @ May 6 2011, 07:30 PM) <{POST_SNAPBACK}>
Auditor ของ CB เจ้าไหนครับ อยากพูดคุยด้วยจัง
เบื้องต้นผมแนะนำให้ไปซื้อหนังสือ Food Microbiology ของท่านอาจารย์จากมหาวิทยาลัยไหนก็ได้ครับ
นำมาขึ้นทะเบียนเป็น Reference Document เราสามารถอ้างอิงข้อมูลทางวิชาการเรื่อง Pathogenic Bacteria
มาเป็นเกณฑ์ที่แสดงว่า Process การขึ้นรูปสินค้าของคุณ ไม่สามารถทำให้เชื้อจุลินทรีย์ที่อาจปนเปื้อนอยู่ มีเหลือรอดได้ครับ
อนุสรณ์ 086-996087
เบื้องต้นผมแนะนำให้ไปซื้อหนังสือ Food Microbiology ของท่านอาจารย์จากมหาวิทยาลัยไหนก็ได้ครับ
นำมาขึ้นทะเบียนเป็น Reference Document เราสามารถอ้างอิงข้อมูลทางวิชาการเรื่อง Pathogenic Bacteria
มาเป็นเกณฑ์ที่แสดงว่า Process การขึ้นรูปสินค้าของคุณ ไม่สามารถทำให้เชื้อจุลินทรีย์ที่อาจปนเปื้อนอยู่ มีเหลือรอดได้ครับ
อนุสรณ์ 086-996087
ขอบคุณมากครับ อิอิ

#6
Posted 07 May 2011 - 01:54 PM
QUOTE(Food Safety @ May 6 2011, 07:30 PM) <{POST_SNAPBACK}>
Auditor ของ CB เจ้าไหนครับ อยากพูดคุยด้วยจัง
เบื้องต้นผมแนะนำให้ไปซื้อหนังสือ Food Microbiology ของท่านอาจารย์จากมหาวิทยาลัยไหนก็ได้ครับ
นำมาขึ้นทะเบียนเป็น Reference Document เราสามารถอ้างอิงข้อมูลทางวิชาการเรื่อง Pathogenic Bacteria
มาเป็นเกณฑ์ที่แสดงว่า Process การขึ้นรูปสินค้าของคุณ ไม่สามารถทำให้เชื้อจุลินทรีย์ที่อาจปนเปื้อนอยู่ มีเหลือรอดได้ครับ
อนุสรณ์ 086-996087
เบื้องต้นผมแนะนำให้ไปซื้อหนังสือ Food Microbiology ของท่านอาจารย์จากมหาวิทยาลัยไหนก็ได้ครับ
นำมาขึ้นทะเบียนเป็น Reference Document เราสามารถอ้างอิงข้อมูลทางวิชาการเรื่อง Pathogenic Bacteria
มาเป็นเกณฑ์ที่แสดงว่า Process การขึ้นรูปสินค้าของคุณ ไม่สามารถทำให้เชื้อจุลินทรีย์ที่อาจปนเปื้อนอยู่ มีเหลือรอดได้ครับ
อนุสรณ์ 086-996087
น่าจะมีให้กด like เหมือนใน Facebook นะคะ
"Auditor ของ CB เจ้าไหนครับ อยากพูดคุยด้วยจัง"

#7
Posted 07 May 2011 - 07:02 PM
QUOTE(Food Safety @ May 7 2011, 06:05 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ก็เป็นอีกวิธีที่ทำได้ครับ
เพราะข้อมูลการทดลองก็เป็นหนึ่งในการ Valiadtion เพื่อพิสูจน์ยืนยันความใช้ได้ครับ
เพราะข้อมูลการทดลองก็เป็นหนึ่งในการ Valiadtion เพื่อพิสูจน์ยืนยันความใช้ได้ครับ
ขอบคุณครับ
"ในโลกนี้ไม่มีคนแปลกหน้าสำหรับเรา มีแต่เพื่อนที่เรายังไม่ได้พบกันเท่านั้น"
E-mail suppadej@gmail.com
#8
Posted 25 May 2011 - 04:19 AM
QUOTE(Junovsky @ May 6 2011, 05:32 PM) <{POST_SNAPBACK}>
อยากทราบเรื่องอุณหภูมิที่ใช้ในการฆ่าเชื้อโรคอะครับ อุณหภูมิเท่าไร นานแค่ไหน ถึงจะทำลายเชื้อได้หมดครับ
ที่โรงงานผลิตถาดพลาสติกบรรจุอาหาร auditor มาตรวจอยากให้จุดที่ให้ความร้อนพลาสติกเป็นจุดฆ่าเชื้อโรคนะครับ
ประเด็นก็คือ ผมไม่รู้ว่า อุณภูมิเท่าไร และนานแค่ไหนเชื้อโรคทั้งหมดถึงจะตายหมด (มีเอกสารอะไรใช้อ้างอิงได้บ้างครับ)
ตอนนี้อุณหภูมิที่ใช้อยู่ประมาณ 200 C นาน 6 วินาที ผมสามารถฟันธงได้หรือไม่ว่าเชื้อโรคตายหมดแล้ว เพราะปกติแค่ต้มน้ำให้เดือดก็ถือว่าเชื้อตายหมด
(งงคำถามกันหรือป่าวครับ)
ที่โรงงานผลิตถาดพลาสติกบรรจุอาหาร auditor มาตรวจอยากให้จุดที่ให้ความร้อนพลาสติกเป็นจุดฆ่าเชื้อโรคนะครับ
ประเด็นก็คือ ผมไม่รู้ว่า อุณภูมิเท่าไร และนานแค่ไหนเชื้อโรคทั้งหมดถึงจะตายหมด (มีเอกสารอะไรใช้อ้างอิงได้บ้างครับ)
ตอนนี้อุณหภูมิที่ใช้อยู่ประมาณ 200 C นาน 6 วินาที ผมสามารถฟันธงได้หรือไม่ว่าเชื้อโรคตายหมดแล้ว เพราะปกติแค่ต้มน้ำให้เดือดก็ถือว่าเชื้อตายหมด
(งงคำถามกันหรือป่าวครับ)
ขอเพิ่มเติมให้เล็กน้อยนะครับ
การใช้อุณหภูมิ 200 C นาน 6 sec. สามารถฆ่าเชื้อได้โดยอาศัยตามหลักการของ UHT (Ultra high temperature) ซึ่งปกติจะใช้ที่ 135 C time 2-4 sec. แต่เพื่อให้ข้อมูลสมบูรณ์แบบ ควรมีการ verify ของพลาสติกที่ทำการบรรจุ อาหารหลังจากการฆ่าเชื้อแล้ว โดยตรวจเชื้อแบบการ swab test อาศัยตามกฏหมายประกาศกระทรวงฉบับ 295 ที่ตรวจวิเคราะห์ S.aureus, Salmonella and C.perfringens ก้อสามารถยืนยันได้ครับ
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users