ท่านที่สมัครสมาชิกเข้ามาใหม่ กรุณารอให้ Admin ได้ทำการ Validate การเป็นสมาชิก ภายใน 24 ชม.ของวันทำการ ซึ่งระหว่างที่รอ Validation ท่านอาจจะยังไม่สามารถดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ได้ หากไม่ได้รับความสะดวก กรุณาอีเมลแจ้ง isothainetwork@hotmail.com
ข้อร้องเรียนใดถือว่าเป็น Food safety
Started by
Intarapo
, Jun 06 2011 05:07 PM
11 replies to this topic
#1
Posted 06 June 2011 - 05:07 PM
มีความสงสัยว่า เราใช้เกณฑ์อะไรมาเป็นตัวตัดสินว่าข้อรอ้งเรียนใดเป็น food safety รบกวนด้วยครับ
#2
Posted 06 June 2011 - 07:55 PM
QUOTE(Intarapo @ Jun 6 2011, 05:07 PM) <{POST_SNAPBACK}>
มีความสงสัยว่า เราใช้เกณฑ์อะไรมาเป็นตัวตัดสินว่าข้อรอ้งเรียนใดเป็น food safety รบกวนด้วยครับ
ร้องเรียนมาที่ผมได้เลยครับ ถือเป็น Food Safety แน่นอน.....เอ้ย..ไม่ช่ายยยยยยย
ข้อร้องเรียนประเภทที่ลูกค้าพบว่ามีสิ่งแปลกปลอมที่อันตรายเช่น ชิ้นส่วนโลหะปนเปื้อน หรือลูกค้าทานแล้วมีปัญหาด้านสุขภาพเช่น
ท้องเสีย ฟันหัก ก้างทิ่มคอ เหงือก เป็นต้น
ข้อร้องเรียนประเภทที่พิสูจน์ได้ว่ามีสารเคมีปนเปื้อน เช่นมี Pesticide ตกค้าง หรือปนเปื้อนในอาหาร
ข้อร้องเรียนประเภทที่พิสูจน์ได้ว่ามีสาร Allergenic เป็นส่วนประกอบหรืออาจมีการตกค้าง ( May contain trace) และทำให้ผู้บริโภค
มีปัญหาด้านสุขภาพ โดยผู้ผลิตไม่ได้ทำการชี้แจงไว้บน Packaging เป็นต้น
อื่นๆ รอเพื่อนๆมาช่วยแชร์
#3
Posted 07 June 2011 - 08:08 AM
QUOTE(Food Safety @ Jun 6 2011, 07:55 PM) <{POST_SNAPBACK}>
ร้องเรียนมาที่ผมได้เลยครับ ถือเป็น Food Safety แน่นอน.....เอ้ย..ไม่ช่ายยยยยยย
ข้อร้องเรียนประเภทที่ลูกค้าพบว่ามีสิ่งแปลกปลอมที่อันตรายเช่น ชิ้นส่วนโลหะปนเปื้อน หรือลูกค้าทานแล้วมีปัญหาด้านสุขภาพเช่น
ท้องเสีย ฟันหัก ก้างทิ่มคอ เหงือก เป็นต้น
ข้อร้องเรียนประเภทที่พิสูจน์ได้ว่ามีสารเคมีปนเปื้อน เช่นมี Pesticide ตกค้าง หรือปนเปื้อนในอาหาร
ข้อร้องเรียนประเภทที่พิสูจน์ได้ว่ามีสาร Allergenic เป็นส่วนประกอบหรืออาจมีการตกค้าง ( May contain trace) และทำให้ผู้บริโภค
มีปัญหาด้านสุขภาพ โดยผู้ผลิตไม่ได้ทำการชี้แจงไว้บน Packaging เป็นต้น
อื่นๆ รอเพื่อนๆมาช่วยแชร์
ข้อร้องเรียนประเภทที่ลูกค้าพบว่ามีสิ่งแปลกปลอมที่อันตรายเช่น ชิ้นส่วนโลหะปนเปื้อน หรือลูกค้าทานแล้วมีปัญหาด้านสุขภาพเช่น
ท้องเสีย ฟันหัก ก้างทิ่มคอ เหงือก เป็นต้น
ข้อร้องเรียนประเภทที่พิสูจน์ได้ว่ามีสารเคมีปนเปื้อน เช่นมี Pesticide ตกค้าง หรือปนเปื้อนในอาหาร
ข้อร้องเรียนประเภทที่พิสูจน์ได้ว่ามีสาร Allergenic เป็นส่วนประกอบหรืออาจมีการตกค้าง ( May contain trace) และทำให้ผู้บริโภค
มีปัญหาด้านสุขภาพ โดยผู้ผลิตไม่ได้ทำการชี้แจงไว้บน Packaging เป็นต้น
อื่นๆ รอเพื่อนๆมาช่วยแชร์
ขอบคุณครับ มีคำถามเพิ่มเติม หากพบว่ามีโลหะที่เห็นเป็นรูปร่าง เเต่ผู้บริโภคยังไม่ได้ทาน ถือเป็น food safety ไหมครับ และหากทานเข้าไปเเต่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค เช่นคายออกออกมา ถือว่าเป็น Food safety ไหมครับ
#4
Posted 07 June 2011 - 08:26 PM
QUOTE(Intarapo @ Jun 7 2011, 08:08 AM) <{POST_SNAPBACK}>
ขอบคุณครับ มีคำถามเพิ่มเติม หากพบว่ามีโลหะที่เห็นเป็นรูปร่าง เเต่ผู้บริโภคยังไม่ได้ทาน ถือเป็น food safety ไหมครับ และหากทานเข้าไปเเต่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค เช่นคายออกออกมา ถือว่าเป็น Food safety ไหมครับ
แบบที่ถามมานี้ โดยส่วนตัวผมถือว่า อาหารที่ผลิตจากกระบวนดังกล่าวนี้ มีปัญหาด้าน Food Safety ครับ
เพราะมีหลักฐานให้เห็นอย่างชัดเจนว่า การควบคุมกระบวนการไม่รัดกุมพอ อันนี้ถือว่าเป็นปัญหาด้าน Food Safety
แม้ว่าจะยังไม่ได้ทาน หรือทานไปแล้วคายออกมาก็ตาม
#5
Posted 08 June 2011 - 07:57 AM
ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงครับ
#6
Posted 08 June 2011 - 08:28 AM
ไม่ได้ทำด้าน Food แต่มองด้านผู้บริโภคเองอะไรก็ตามที่เจอในผลิตภัณฑ์อาหารไม่ว่าจะด้วยสายตา กลิ่น รสชาติ หรือเมื่อทานไปแล้วทำให้ท้องเสียสามารถถือได้ว่าเป็นความเสี่ยงที่อาจเกิดกับผู้บริโ
ภคได้นอกจากการเป็นข้อร้องเรียนด้าน Food Safety แล้ว หากทานไปแล้วพบว่าทำให้เกิดปัญหาสุขภาพอาจโดยกม. PL Law เข้าไปอีกชุด สังเกตุเมืองนอกได้ครับเรียกกันเป็นล้านอิอิ
ภคได้นอกจากการเป็นข้อร้องเรียนด้าน Food Safety แล้ว หากทานไปแล้วพบว่าทำให้เกิดปัญหาสุขภาพอาจโดยกม. PL Law เข้าไปอีกชุด สังเกตุเมืองนอกได้ครับเรียกกันเป็นล้านอิอิ
การมีความรู้ มาจากการเรียนรู้ และปฏิบัติ หากเรียนอย่างเดียวไม่ปฏิบัีติก็เรียกว่ารุ้ไม่จริง
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
#7
Posted 08 June 2011 - 11:24 AM
การพิจารณาว่าอะไรเป็น Food safety คุณพิจารณาง่ายๆว่าสิ่งที่คุณได้รับข้อร้องเรียนก่อให้เกิดอันตรายกับผู้บริโภคหรือไ
ม่ อย่างโลหะที่คุณอ้างถึง ถ้าลูกค้ามองไม่เห็นแล้วกินเข้าไป คุณแน่ใจได้อย่างไรว่าเขาจะคายออกมาได้ทุกครั้ง หากเผลอกลืนเข้าไปแล้วไปติดคอเขาถือเป็นอันตรายไหม หรือเผลอกัดเข้าไปแล้วทำฟันหักถือเป็นอันตรายไหม
เพราะงั้นถึงจะเป็นของที่เขาเห็นแล้วไม่มีทางกิน ก็ต้องถือว่าแล้วถ้ากินเข้าไปเกิดอันตรายไหม ยกตัวอย่างเชื้อราที่ขึ้นขนมปัง ถ้าเผลอกินเข้าไปแล้วเกิดอันตรายก็ต้องถือว่าเป็น Food safety
ขอยกกรณีศึกษาของร้านแมคโดนัลด์ที่อเมริกา เคยเสริฟกาแฟร้อนให้ลูกค้าแบบจอดรถรับสินค้า กาแฟร้อนจนลวกขาลูกค้าเป็นแผล เขายังโดนร้องเรียนเลยว่ากาแฟร้อนเกินไป เป็นอันตรายกับผู้บริโภค ถึงขั้นต้องวัดอุณหภูมิก่อนเสริฟกันเลยทีเดียว
ม่ อย่างโลหะที่คุณอ้างถึง ถ้าลูกค้ามองไม่เห็นแล้วกินเข้าไป คุณแน่ใจได้อย่างไรว่าเขาจะคายออกมาได้ทุกครั้ง หากเผลอกลืนเข้าไปแล้วไปติดคอเขาถือเป็นอันตรายไหม หรือเผลอกัดเข้าไปแล้วทำฟันหักถือเป็นอันตรายไหม
เพราะงั้นถึงจะเป็นของที่เขาเห็นแล้วไม่มีทางกิน ก็ต้องถือว่าแล้วถ้ากินเข้าไปเกิดอันตรายไหม ยกตัวอย่างเชื้อราที่ขึ้นขนมปัง ถ้าเผลอกินเข้าไปแล้วเกิดอันตรายก็ต้องถือว่าเป็น Food safety
ขอยกกรณีศึกษาของร้านแมคโดนัลด์ที่อเมริกา เคยเสริฟกาแฟร้อนให้ลูกค้าแบบจอดรถรับสินค้า กาแฟร้อนจนลวกขาลูกค้าเป็นแผล เขายังโดนร้องเรียนเลยว่ากาแฟร้อนเกินไป เป็นอันตรายกับผู้บริโภค ถึงขั้นต้องวัดอุณหภูมิก่อนเสริฟกันเลยทีเดียว
#8
Posted 08 June 2011 - 01:24 PM
Food safety complaint คือ Complaint ที่พิสูจน์ได้ว่าเกิดขึ้นจากความไม่ได้ตั้งใจในกระบวนการผลิตของผู้ผลิต จนเป็นสาเหตุทำให้ผู้บริโภคเกิดความรู้สึกกระทบกระเทือนทางด้านจิตใจ ร่างกายบาดเจ็บ จนถึงเสียชีวิต อันเนื่องมาจากผลิตภัณฑ์
แต่ถ้าเกิดจากความจงใจ/ความตั้งใจในกระบวนการผลิต จะเรียกว่า Food security complaint
แต่ถ้าเกิดจากความจงใจ/ความตั้งใจในกระบวนการผลิต จะเรียกว่า Food security complaint
"ในโลกนี้ไม่มีคนแปลกหน้าสำหรับเรา มีแต่เพื่อนที่เรายังไม่ได้พบกันเท่านั้น"
E-mail suppadej@gmail.com
#9
Posted 08 June 2011 - 04:24 PM
คุณโจ้ ขอความรู้เพิ่มเติมหน่อยครับแล้วรู้ได้อย่างไรว่าบริษัทจงใจหรือไม่อย่างไร
QUOTE(Suppadej @ Jun 8 2011, 01:24 PM) <{POST_SNAPBACK}>
Food safety complaint คือ Complaint ที่พิสูจน์ได้ว่าเกิดขึ้นจากความไม่ได้ตั้งใจในกระบวนการผลิตของผู้ผลิต จนเป็นสาเหตุทำให้ผู้บริโภคเกิดความรู้สึกกระทบกระเทือนทางด้านจิตใจ ร่างกายบาดเจ็บ จนถึงเสียชีวิต อันเนื่องมาจากผลิตภัณฑ์
แต่ถ้าเกิดจากความจงใจ/ความตั้งใจในกระบวนการผลิต จะเรียกว่า Food security complaint
แต่ถ้าเกิดจากความจงใจ/ความตั้งใจในกระบวนการผลิต จะเรียกว่า Food security complaint
การมีความรู้ มาจากการเรียนรู้ และปฏิบัติ หากเรียนอย่างเดียวไม่ปฏิบัีติก็เรียกว่ารุ้ไม่จริง
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
#10
Posted 08 June 2011 - 09:28 PM
QUOTE(iso_man @ Jun 8 2011, 04:24 PM) <{POST_SNAPBACK}>
คุณโจ้ ขอความรู้เพิ่มเติมหน่อยครับแล้วรู้ได้อย่างไรว่าบริษัทจงใจหรือไม่อย่างไร
คงต้องพิสูจน์ความจริงกันครับ ซึ่งถ้ามีการฟ้องร้องกันก็ต้องให้ศาลตัดสินด้วย PL law ว่าเกิดจากความตั้งใจของบริษัทผู้ผลิตหรือไม่
และก็ขึ้นอยู่กับบริษัทนั้นๆว่าจะมีจรรยาบรรณต่อผู้บริโภคมากน้อยเพียงใดครับ
เพราะ PL Law จะโยนความรับผิดชอบทั้งหมดให้ผู้ผลิต แล้วให้ผู้ผลิตเป็นผู้พิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า Defect ที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดขึ้นจากบริษัทผู้ผลิตหรือเป็นความผิดที่บริษัทไม่ได้ตั้งใจ เช่นหลักฐานบันทึกการผลิตทั้งหมด พี่ป๊อบอาจจะเห็นว่า PL Law จะให้ผู้ผลิตเก็บเอกสารได้นาน 10 ปี เผื่อมีข้อฟ้องร้องกันจะได้มีหลักฐานไว้พิสูจน์ความจริงกับศาลครับ
"ในโลกนี้ไม่มีคนแปลกหน้าสำหรับเรา มีแต่เพื่อนที่เรายังไม่ได้พบกันเท่านั้น"
E-mail suppadej@gmail.com
#11
Posted 08 June 2011 - 10:21 PM
QUOTE(Suppadej @ Jun 8 2011, 09:28 PM) <{POST_SNAPBACK}>
คงต้องพิสูจน์ความจริงกันครับ ซึ่งถ้ามีการฟ้องร้องกันก็ต้องให้ศาลตัดสินด้วย PL law ว่าเกิดจากความตั้งใจของบริษัทผู้ผลิตหรือไม่
และก็ขึ้นอยู่กับบริษัทนั้นๆว่าจะมีจรรยาบรรณต่อผู้บริโภคมากน้อยเพียงใดครับ
เพราะ PL Law จะโยนความรับผิดชอบทั้งหมดให้ผู้ผลิต แล้วให้ผู้ผลิตเป็นผู้พิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า Defect ที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดขึ้นจากบริษัทผู้ผลิตหรือเป็นความผิดที่บริษัทไม่ได้ตั้งใจ เช่นหลักฐานบันทึกการผลิตทั้งหมด พี่ป๊อบอาจจะเห็นว่า PL Law จะให้ผู้ผลิตเก็บเอกสารได้นาน 10 ปี เผื่อมีข้อฟ้องร้องกันจะได้มีหลักฐานไว้พิสูจน์ความจริงกับศาลครับ
และก็ขึ้นอยู่กับบริษัทนั้นๆว่าจะมีจรรยาบรรณต่อผู้บริโภคมากน้อยเพียงใดครับ
เพราะ PL Law จะโยนความรับผิดชอบทั้งหมดให้ผู้ผลิต แล้วให้ผู้ผลิตเป็นผู้พิสูจน์ให้ศาลเห็นว่า Defect ที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดขึ้นจากบริษัทผู้ผลิตหรือเป็นความผิดที่บริษัทไม่ได้ตั้งใจ เช่นหลักฐานบันทึกการผลิตทั้งหมด พี่ป๊อบอาจจะเห็นว่า PL Law จะให้ผู้ผลิตเก็บเอกสารได้นาน 10 ปี เผื่อมีข้อฟ้องร้องกันจะได้มีหลักฐานไว้พิสูจน์ความจริงกับศาลครับ
กด Like ให้ 100 ครั้ง
#12
Posted 09 June 2011 - 08:50 AM
อิอิสุดยอดครับผู้รู้จริง ขอบคุณคร๊าบบบบบบ
การมีความรู้ มาจากการเรียนรู้ และปฏิบัติ หากเรียนอย่างเดียวไม่ปฏิบัีติก็เรียกว่ารุ้ไม่จริง
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ chatriwat@hotmail.com
Facebook: poppithai
Tel:089-6834451
1 user(s) are reading this topic
0 members, 1 guests, 0 anonymous users